บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
Introduction to C Introduction to C.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
Chapter 7 ขอบเขตของตัวแปร Variable Scope.
FORM อ.กันทิมา อ่อนละออ
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Structure Programming
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
PHP LANGUAGE.
โครงสร้าง ภาษา HTML.
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
Properties ของคอนโทรล ที่ควรรู้จักในเบื้องต้น
โปรแกรมย่อย : Pascal Procedure
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
โครงสร้าง HTML โครงสร้างพื้นฐาน HTML คำสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ <BR>
C Programming Lecture no. 6: Function.
SCC : Suthida Chaichomchuen
PROCEDURE <<โปรแกรมย่อย>>
การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ บทที่ 5 การพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วย MS Visual Basic 2010 ปริญญา น้อยดอนไพร สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ส่วนของการเขียนโค๊ด ใน VB การเขียนโค๊ดจะเป็นแบบ Event Driven
Looping การวนรอบ บทที่ 4.
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
Lab 8 ตัวแปรและชนิดข้อมูล
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมแบบ Structured Programming และการจัดการตรวจสอบข้อผิดพลาด.
LOGO SCCS031 Principle of Computer Programming Thinaphan Nithiyuwith Program of Computer Science & Information Technology suchada/
Chapter 6 Decision Statement
บทที่ 3 ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
พื้นฐานของ Microsoft Office Excel โดย
ตัวแปรในภาษา JavaScript
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
HTML, PHP.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
PHP: [8] การสร้างฟังก์ชั่นขึ้นใช้เอง (User-defined functions)
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
บทที่ 9 พอยเตอร์. สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น พอยเตอร์ (Pointer) พอยเตอร์คือต้นฉบับของชนิดข้อมูล เป็นชนิด ข้อมูลที่สร้างจากข้อมูลมาตรฐานชนิดหนึ่ง.
BCS 121 บท 5 การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming)
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การสร้างฟอร์ม(Form) ด้วยภาษา HTML
1. Global variable คือ ตัวแปรที่กำหนดหรือประกาศไว้นอกฟังก์ชันใด ๆ ทุกฟังก์ชัน สามารถนำตัวแปรประเภท Global ไปใช้ได้ทุกฟังก์ชัน.
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 6 คำสั่งเงื่อนไข.
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Variable, Constant. Variable คือชื่อที่ตั้งขึ้นมาเพื่อจองพื้นที่ใน หน่วยความจำสำหรับ พักข้อมูล.
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 การสร้างและการใช้งาน ฟังก์ชัน อาจารย์ชนิดา คำเพ็ง สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic

การเรียกใช้ Code Editor

ส่วนประกอบของ Code Editor

การเขียนคำสั่งในรูปแบบต่าง ๆ การแบ่งคำสั่งบรรทัดหนึ่งออกเป็นหลายบรรทัด เนื่องจากคำสั่งต่าง ๆ ในการเขียนโปรแกรม การใส่คำสั่งต่าง ๆ ให้จบภายใน 1 บรรทัด บางครั้งอาจทำให้คำสั่งนั้นยาวเกินไป ทำให้ไม่สะดวกในการทำงาน จึงมีวิธีแตกบรรทัดหนึ่งออกเป็นหลายบรรทัดได้ ด้วยการใช้ตัวอักขระช่องว่าง ตามด้วยอักขระ _ (UnderScorll) ดังตัวอย่าง เช่น MsgBox "ยินดีต้อนรับคุณ " & Text1.Text & " เข้าสู่โปรแกรม", _ vbOKOnly, "MsbBox"

การรวมคำสั่งหลายบรรทัดในบรรทัดเดียว การเขียนโปรแกรมใน Visual Basic สามารถรวมคำสั่งมากกว่าหนึ่งคำสั่งให้อยู่ในบรรทัดเดียวกัน โดยใช้เครื่องหมาย : ในการแยกแต่ละคำสั่งออกจากกัน ตัวอย่างเช่น I = 1 N = 0 Text1.Text = “” สามารถรวมเป็นคำสั่งเดียวกันได้ดังคำสั่งข้างล่าง I=1 : N=0 : Text1.Text = “”

การใส่คำอธิบายสำหรับโปรแกรม (Comment) การเขียนโปรแกรมสามารถเพิ่มคำอธิบายสำหรับคำสั่งโปรแกรมในหน้าต่าง Code Editor ได้เพื่อช่วยให้ทำความเข้าใจกับคำสั่งที่พิมพ์ได้ง่ายขึ้น และเป็นการอำนวยความสะดวกในการแก้ไขโปรแกรมในภายหลัง ทำให้สามารถแก้ไขโปรแกรมได้รวดเร็วยิ่งขึ้น โดยสามารถใส่คำอธิบายได้ด้วยการใช้อักขระ ' ซึ่งเป็นอักขระที่บอกให้โปรแกรมไม่ต้องสนใจข้อความที่อยู่หลังอักขระนั้น ตัวอย่าง ' Test Program Total = Val(Text1.Text) ' นำค่าใน Text1.Text แปลงเป็น Integer และเก็บไว้ใน Total

ตัวแปร (Variables) ตัวแปร (Variable) คือชื่ออ้างอิงที่ตั้งขึ้นสำหรับจองพื้นที่ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการจัดเก็บข้อมูลชั่วคราว ตัวแปรที่กำหนดขึ้นมาจะต้องประกอบด้วยชื่อและชนิดของข้อมูล (Data Type) ที่ตัวแปรเก็บได้ โดยขนาดของตัวแปรจะขึ้นอยู่กับชนิดของข้อมูลที่กำหนดให้ว่ามีขนาดมากน้อยเพียงไร

การประกาศค่าตัวแปร (Variable Declaration) การประกาศค่าตัวแปร จะเป็นการบอกโปรแกรมว่ามีตัวแปรเพื่อให้สามารถนำตัวแปรนี้ไปใช้ในโปรแกรมได้ การประกาศตัวแปร จะใช้คำสั่ง Dim (Dimension) ดังรูปแบบต่อไปนี้ Dim <ชื่อตัวแปร> [ As Type] หรือ Dim ชื่อตัวแปร As ชนิดข้อมูล ,ชื่อตัวแปร As ชนิดข้อมูล ,…

ขอบเขตการประกาศตัวแปร (Scope of variables) การประกาศตัวแปรแบบ Private ตัวแปรที่ประกาศแบบนี้ คือ ตัวแปรที่ประกาศอยู่ภายใต้โปรแกรมย่อย (Procedure) ซึ่งจะมีขอบเขตการทำงานเฉพาะภายในโปรแกรมย่อยนั้นเท่านั้น โปรแกรมย่อยอื่น ๆ ไม่สามารถอ้างอิงหรือเรียกใช้งานได้ โดยการเปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปรดังกล่าวในโปรแกรมย่อยหนึ่ง จะไม่ส่งผลกับตัวแปรอื่น ๆ ภายในฟอร์มเดียวกัน การประกาศตัวแปรแบบ Public ตัวแปรที่ประกาศแบบนี้ คือ ตัวแปรที่ประกาศไว้ในส่วนของ General Declaration ซึ่งแตกต่างจากแบบ Private คือขอบเขตการทำงานของตัวแปรแบบ Public จะสามารถอ้างอิงไปได้ทุก ๆ โปรแกรมย่อยภายในฟอร์มเดียวกัน ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปรจะส่งผลกับทุก ๆ โปรแกรมย่อยที่เรียกใช้งานตัวแปรนั้น

ค่าคงที่ (Constants) ค่าคงที่แบบกำหนดเอง (User Defined Constant) เป็นค่าคงที่ ที่ผู้เขียนโปรแกรมเป็นผู้กำหนดขึ้นมาเองโดยใช้คำสั่ง Const ในการประกาศค่า ค่าคงที่สามารถประกาศได้ในลักษณะเดียวกับการประกาศตัวแปร ค่าคงที่แบบเรียกใช้ได้ทันที (Pre Defined Constant) ค่าคงที่ ที่ถูกติดตั้งไว้พร้อมกับ Visual Basic โดยในขณะกำลังเขียนโปรแกรมพิมพ์พยัญชนะตัวแรกของค่าคงที่ก็จะมีค่าคงที่ ที่มีพยัญชนะขึ้นต้นที่ผู้เขียนโปรแกรมป้อนมาให้เลือก ซึ่งเป็นความสามารถพิเศษของโปรแกรมที่เรียกว่า Auto List Member

ชนิดของข้อมูล (Data Type)

ตัวดำเนินการ (Operator)

ตัวดำเนินการตรรกะ (Logical Operation)

ตัวดำเนินการในการเปรียบเทียบ (Comparison Operation)

ลำดับการดำเนินการ