ภาษาปาสคาล บทนำ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
Introduction to C Introduction to C.
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
VBScript.
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
BC320 Introduction to Computer Programming
Introduction to C Programming
Department of Computer Business
User Defined Simple Data Type
การเขียนผังงาน.
ข้อผิดพลาดของโปรแกรม และตัวดำเนินการ
Data Type part.II.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
Introduction to C Programming.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
PHP LANGUAGE.
โครงสร้างภาษาซี.
หน่วยที่ 2 ภาษาโปรแกรม และการออกแบบโปรแกรม
Properties ของคอนโทรล ที่ควรรู้จักในเบื้องต้น
Repetitive Instruction
ภาษาปาสคาล ผู้สร้าง Dr.Niklaus Wirth ปี 2513
คำสั่งเงื่อนไขและการควบคุม
การเขียนโปรแกรม ASP การประกาศตัวแปร
ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น.
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
SCC : Suthida Chaichomchuen
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
PROCEDURE <<โปรแกรมย่อย>>
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
บทที่ 9 การรับและแสดงผลข้อมูล
บทที่ 2 ประเภทข้อมูล (DATA TYPE)
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ตัวดำเนินการ(Operator)
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
นิพจน์และตัวดำเนินการ
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
บทที่ 7 Flash 8 ActionScripts.
TURBO PASCAL OUTLINE 1. บทนำเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
บทที่ 8 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
ชนิดของข้อมูลแบบพื้นฐาน 1. จํ านวนเต็ม (Integer Data Type) 2. จํ านวนจริง (Real Data Type) 3. ตัวอักขระ (Character Data Type) 4. ตรรกศาสตร ? (Boolean.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วย C#
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
บทที่ 5 โปรแกรมย่อย.
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาษาปาสคาล บทนำ

ประวัติภาษาปาสคาล ปาสคาลเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นโดย ศาสตราจารย์ ดอกเตอร์นิเคลาส์ เวิร์ต(Dr. Niklaus Wirth) จากสถาบันเทคโนโลยีแห่งซูริค ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ เริ่มใช้เมื่อปี พ.ศ. 2514 ชื่อภาษาตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่ เบลส ปาสคาล (Blaise Pascal) นักคณิตศาสตร์ และปรัชญาชาวฝรั่งเศส (พ.ศ. 2166-2205) เป็นผู้สร้างเครื่องบวกเลขได้สำเร็จเป็นคนแรกของโลกในปี พ.ศ. 2185 ซึ่งเป็นต้นแบบของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน ดร.นิเคลาส์ เป็นผู้สร้างภาษา PL/1 และ ALGOL-60 มาก่อน บางส่วนของปาสคาลจึงมีพื้นฐานมาจากภาษาทั้งสองนี้

ลักษณะของภาษาปาสคาล ภาษาปาสคาลทำให้แบ่งงานภายในโปรแกรม ซึ่งเป็นงานใหญ่ออกเป็นงานย่อยๆ เป็นตอนๆได้ เป็นภาษาที่ทำงานได้รวดเร็ว มีความง่ายในการใช้งาน โปรแกรมที่ทำไว้ สามารถนำกลับมาใช้งานได้

รูปแบบของภาษาปาสคาล PROGRAM ชื่อโปรแกรม; ส่วนหัว (Head) USE LABEL VAR CONST TYPE ส่วนประกาศ (Declaration) PROCEDURE or FUNCTION BEGIN เริ่มโปรแกรม …. ส่วนคำสั่ง (Body) END.

ส่วนหัว (Head) สำหรับกำหนดชื่อโปรแกรม มีรูปแบบ ดังนี้ PROGRAM ชื่อโปรแกรม ; ต้องเริ่มต้นด้วยคำว่า PROGRAM แล้วตามด้วยชื่อโปรแกรม เช่น PROGRAM Hello; <-----> PROGRAM HELLO; **จะเขียนตัวเล็กตัวใหญ่ก็มีความหมายเหมือนกัน**

การตั้งชื่อ ชื่อ คือ คำที่ตั้งขึ้นเพื่อกำหนดให้เป็นชื่อของโปรแกรม โปรแกรมย่อย ตัวแปร แบบของข้อมูล และค่าคงตัวอักขระ (Character) ที่เรานำมาใช้เป็นชื่อได้ คือ ตัวอักษร ตัวเลข และขีดล่างเท่านั้น จะนำเครื่องหมายใดๆ มาใช้เป็นชื่อไม่ได้ และจะต้องขึ้นต้นด้วยอักษรหรือขีดล่างไม่ให้ขึ้นต้นด้วยตัวเลข ความยาวของชื่อที่สั้นที่สุดคือ 1 อักขระ ส่วนชื่อที่ยาวที่สุดในปาสคาลมาตรฐานกำหนดไว้ว่าไม่เกิน 1 Line คือ 127 อักขระ แต่ก็ขึ้นอยู่กับคอมไฟเลอร์แต่ละตัว ส่วนมากกำหนดไว้ไม่เกิน 30 อักขระ และมีความหมายเพียง 8 ตัวแรก สำหรับเทอร์โบปาสคาลกำหนดไว้ไม่เกิน 127 อักขระ แต่จะมีความหมายเพียง 63 ตัวแรก

ส่วนประกาศ (Declaration) LABEL สำหรับกำหนดชื่อ ซึ่งเป็นตำแหน่งที่คำสั่ง GOTO จะไปหา มีรูปแบบดังนี้ LABEL ชื่อ [,ชื่อ] ; เช่น Label Point1,Point2;

ส่วนประกาศ (Declaration) <ต่อ> CONST สำหรับกำหนดชื่อ และค่าที่ไม่เปลี่ยนแปลง มีรูปแบบดังนี้ CONST ชื่อ = ค่าที่กำหนด ; เช่น CONST title = ‘TITANIC’; max = 200;

ส่วนประกาศ (Declaration) <ต่อ> Var สำหรับกำหนด ชื่อตัวแปรและชนิดข้อมูลของคำสั่ง Var ชื่อ [,ชื่อ] : ชนิดของข้อมูล ; เช่น Var title : string; max, min, avg : integer;

ส่วนประกาศ (Declaration) <ต่อ> Uses เป็นส่วนที่จะบอกให้ทราบว่าในโปรแกรมนั้นจะต้องอาศัยไฟล์ใดมาช่วยงานบ้าง (นามสกุล .TPU) หัวข้อนี้จะอยู่ต่อจากส่วนหัว ตัวอย่าง Program Example; Uses Crt,Dos,Printer;

ส่วนประกาศ (Declaration) <ต่อ> Type ใช้ในกรณีที่ผู้ใช้กำหนดชนิดหรือแบบของตัวแปรขึ้นมาเอง วิธีการใช้งาน “ขึ้นต้นด้วย Type แล้วตามด้วยตัวแปรที่จะกำหนดและแบบของตัวแปร” ตัวอย่าง Type Date = 1..31;

การให้ค่าแก่ตัวแปร (Assisment Expression) เมื่อกำหนดตัวแปรแล้ว การดำเนินขั้นตอนแรกกับตัวแปร คือ การให้ค่าตัวแปร ซึ่งทำได้ 2 วิธี คือ อ่านจากอุปกรณ์ภายนอก เช่น คีย์บอร์ดมาให้แก่ตัวแปร และการให้ค่าคงตัว แก่ตัวแปร เช่น num := 154; name := ‘Nipaporn Khamcharoen’;

ส่วนคำสั่ง (Body) เริ่มจาก BEGIN ถึง END. ส่วนนี้ประกอบด้วยประโยคคำสั่งต่าง ๆ สำหรับสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานประเภทของคำสั่ง ตัวอย่าง PROGRAM hello; BEGIN writeln(‘Hello! World’); END.

อินพุตและเอาต์พุต คำในภาษาปาสคาลที่ใช้เป็นอินพุตและเอาต์พุตกับอุปกรณ์ภายนอก เช่น คีย์บอร์ดและจอภาพ คือ Read และ Write เช่น Write (‘Good Morning’); Write (num); Read (num); Read (name);

ตัวดำเนินการ (Operators) ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ ใช้กับข้อมูลที่เป็นตัวเลข ให้ผลจากการดำเนินการทางคณิตศาสตร์ มีอยู่ 6 ตัว คือ + , - , * , / , DIV และ MOD ซึ่ง 4 ตัวแรกเป็นการดำเนินการ บวก ลบ คูณ และหาร ส่วน DIV และ MOD เลขจำนวนเต็มเท่านั้น โดยที่ DIV เป็นการหารแบบปัดทิ้ง ส่วน MOD ให้เศษของการหาร

ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ ใช้เพื่อเปรียบเทียบข้อมูลที่เป็นอักขระ เลขจำนวน บูลีน และสตริง แล้วให้ค่าเป็นความจริงหรือเท็จ มีอยู่ 6 ตัว คือ = , < > , < , > , <= , >= ตัวดำเนินการบูลีน ให้ค่าความเป็นจริงและเป็นเท็จระหว่างความสัมพันธ์ของตัวตั้ง และตัวกระทำในรูปของคณิตศาสตร์บูลีน มีอยู่ 4 ตัว NOT , AND , OR , XOR

ตัวดำเนินการตรรก ให้ผลการดำเนินกรรมวิธีทางตรรกของเลขจำนวนเต็มในแบบบิตต่อบิต มีตัวดำเนินการ 6 ตัว คือ AND , OR , XOR , NOT , SHL , SHR

วิธีใช้โปรแกรม Turbo Pascalเบื้องต้น

การใช้โปรแกรม Turbo Pascal เบื้องต้น(ต่อ) F1 คือ สวนของการช่วยเหลือในการใช้งาน F2 คือ save หรือเซฟโปรแกรม F3 คือ openไปไฟล์หรือ เรียกไฟล์ที่เซฟไว้ขึ้นมา Alt+F9 คือ compile หรือแปลโปรแกรม F9 คือ make หรือการตรวจสอบโปรแกรมว่าถูกต้องหรือผิดพลาดในการใช้ไวยากรของภาษา

การใช้โปรแกรม Turbo Pascal เบื้องต้น(ต่อ) F10 คือ ทำให้เกิดแสงสว่างที่คำสั่งบนเมนู แล้วสามารถเลื่อนลูกศรไปซ้ายหรือขวาได้ Alt+X คือ การออกจากโปรแกรม

จบแล้ว ขอบคุณครับ/ค่ะ