Data Transmission Encoding Techniques and Transmission mode

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
Advertisements

วิธีการตั้งค่าและทดสอบ เครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนใช้งาน
Proprietary and Confidential © Astadia, Inc. | 1.
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
Chapter 2 Root of Nonlinear Functions
E-R Model บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต.
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-1 ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ DSP 5 The Discrete.
ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ
ระบบบัส I2C I2C Bus System.
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
Network Model Signal and Data transmission
หนังสืออ้างอิง Course Syllabus
TCP/IP Protocols IP Addressing
Switching Network Circuit Switching/Packet Switching
Multiplexing and Network Multiplexing
Network Model แบบจำลอง OSI
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
Chapter 19 Network Layer: Logical Addressing
Image Processing and Computer Vision
Binary Image Processing
Digital Data Communication Technique
กระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
Introduction to Digital System
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
การหาคุณลักษณะพิเศษของตัวอักษร
การแปลงภาพสีเทาให้เป็นภาพขาวดำ
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
บทที่ 2 อาร์เรย์ อาร์เรย์ คือ ชุดของตัวแปรเดียวกัน ซึ่งสมาชิกของอาร์เรย์จะเป็นตัวแปรพื้นฐาน จำนวนสมาชิกในอาร์เรย์มีขนานแน่นอน และสมาชิกของอาร์เรย์แต้ละตัว.
Computer Coding & Number Systems
ระบบการเบิก-จ่าย ลูกหนี้เงินยืม
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
โครงสร้างข้อมูลแบบคิว
การสื่อสารข้อมูล Data Communication Chapter 10 วชิรธรรมสาธิต
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
การดำเนินการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-NET)
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
PHP for Web Programming
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จุมพฏ พงศ์ศักดิ์ศรี จุมพฏ พงศ์ศักดิ์ศรี
บทที่ 8 การมัลติเพล็กซ์สัญญาณ
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
School of Information Communication Technology,
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ 2 ตัว
ขั้นตอนการยื่นขอตรวจคุณสมบัติฯ ทาง INTERNET
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
1 Functions กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
การแบ่งแยกและเอาชนะ Divide & Conquer
เอกสารเคมี Chemistry Literature
การแบ่งแยกและเอาชนะ Divide & Conquer
โครงการจัดทำฐานข้อมูลผ่านเว็บไซต์
Concept and Terminology Guided media (wired) Twisted pair Coaxial cable Optical fiber Unguided media (wireless) Air Seawater Vacuum Direct link Point.
Analog vs. Digital Analog Digital
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Data Transmission Encoding Techniques and Transmission mode

Digital transmission Data transmission Line Encoding Techniques 1. Unipolar 2. Bipolar/Pseudo Ternary 3. Polar

Unipolar Encoding Data transmission Unipolar -- Encoding uses only one voltage level

Bipolar Encoding Data transmission Bipolar – Encoding uses three levels (Positive, Zero and Negative) ขอกล่าวถึง 2 ลักษณะคือ Bipolar-AMI และ Pseudo Ternary สำหรับ Bipolar-AMI (Bipolar-Alternate Mark Invention) มีหลักการคือ เมื่อข้อมูลเป็น “0” สัญญาณจะอยู่ในระดับปกติ เมื่อข้อมูลเป็น “1” สัญญาณจะเปลี่ยนเป็น High หรือ Low ซึ่งจะทำให้การเปลี่ยนรูปแบบสัญญาณด้วยวิธีนี้ ใช้ระดับสัญญาณถึง 3 ระดับคือ 0, High และ Low

Bipolar Encoding Data transmission Pseudo Ternary มีหลักการคือ เมื่อข้อมูลเป็น “1” สัญญาณจะอยู่ในระดับปกติ เมื่อข้อมูลเป็น “0” สัญญาณจะเปลี่ยนเป็น High หรือ Low ซึ่งจะทำให้การเปลี่ยนรูปแบบสัญญาณด้วยวิธีนี้ ใช้ระดับสัญญาณ 3 ระดับคือ 0, High และ Low เช่นเดียวกันกับ Bipolar-AMI

Bipolar Encoding Data transmission Bipolar – Encoding uses three levels (Positive, Zero and Negative) Bipolar-AMI (Alternate Mark Invention)

Example of Bipolar Encoding Data transmission Example of Bipolar Encoding จากข้อมูล 0 1 0 0 1 1 0 0 0 1 1 เมื่อใช้วิธีการ Encode ด้วย Bipolar-AMI รูปของสัญญาณจะอยู่ในรูปแบบใด 1 Bipolar

Polar Encoding Data transmission Encoding uses two voltage levels (Positive and Negative)

Polar Encoding Data transmission NRZ (Non-Return to Zeroes) NRZ-L จะแบ่งเป็น 2 level คือ High กับ Low โดยที่เมื่อสัญญาณอยู่ที่ระดับ High จะหมายถึงข้อมูลเป็น “0” ส่วน Low จะหมายถึงข้อมูลเป็น “1” NRZ-I (Non-Return to Zeroes Invert on one) มีหลักการดังนี้คือ เมื่อข้อมูลเป็น “1” ให้ทำการเปลี่ยนแปลงระดับของสัญญาณที่จุดเริ่มต้นของ Pulse โดยจะเปลี่ยนจาก High  Low หรือ Low  High เมื่อข้อมูลเป็น “0” จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงของระดับสัญญาณ

Data transmission Polar Encoding NRZ-L and NRZ-I Encoding

NRZ-L Example of NRZ Encoding Data transmission จากข้อมูล 0 1 0 0 1 1 0 0 0 1 1 เมื่อใช้วิธีการ Encode ด้วย NRZ-L และ NRZ-I รูปของสัญญาณจะอยู่ในรูปแบบใด 1 NRZ-L

NRZ-I Example of NRZ Encoding Data transmission จากข้อมูล 0 1 0 0 1 1 0 0 0 1 1 เมื่อใช้วิธีการ Encode ด้วย NRZ-L และ NRZ-I รูปของสัญญาณจะอยู่ในรูปแบบใด 1 NRZ-I

Data transmission Polar Encoding RZ (Return to Zeroes Encoding)

RZ Example of RZ Encoding Data transmission จากข้อมูล 0 1 0 0 1 1 0 0 0 1 1 เมื่อใช้วิธีการ Encode ด้วย RZ รูปของสัญญาณจะอยู่ในรูปแบบใด 1 RZ

Polar Encoding Data transmission Manchester Encoding มีหลักการคือ ให้ยึดว่าตรงกลาง bit จะต้องมี transition เกิดขึ้นเสมอ โดยที่ เมื่อข้อมูลเป็น “1” จะแทนด้วยการเปลี่ยนสัญญาณจาก Low  High เมื่อข้อมูลเป็น “0” จะแทนด้วยการเปลี่ยนสัญญาณจาก High  Low

Data transmission Polar Encoding Manchester Encoding

Example of Manchester Code Encoding Data transmission Example of Manchester Code Encoding จากข้อมูล 0 1 0 0 1 1 0 0 0 1 1 เมื่อใช้วิธีการ Manchester Code รูปของสัญญาณจะอยู่ในรูปแบบใด 1 Manchester Code

Polar Encoding Data transmission Differential Manchester Encoding มีหลักการคือ ให้ยึดว่าตรงกลาง bit จะต้องมี transition เกิดขึ้นเสมอ โดยที่ เมื่อข้อมูลเป็น “0” จะต้องมีการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณเกิดขึ้นที่ต้น bit (มี transition เกิดขึ้นที่ต้น bit) เมื่อข้อมูลเป็น “1” จะไม่มี transition เกิดขึ้นที่ต้น bit

Data transmission Polar Encoding Differential Manchester Encoding

Example of Differential Manchester Code Encoding Data transmission Example of Differential Manchester Code Encoding จากข้อมูล 0 1 0 0 1 1 0 0 0 1 1 เมื่อใช้วิธีการ Differential Manchester Code รูปของสัญญาณจะอยู่ในรูปแบบใด 1 Differential Manchester Code

Data transmission Transmission Mode

Data transmission Transmission Mode Parallel transmission

Data transmission Transmission Mode Serial transmission

Transmission Mode Data transmission Serial – Asynchronous transmission In asynchronous transmission, we send 1 start bit (0) at the beginning and 1 or more stop bits (1s) at the end of each byte. There may be a gap between each byte.

Transmission Mode Data transmission Serial – Synchronous transmission In synchronous transmission, we send bits one after another without start/stop bits or gaps. It is the responsibility of the receiver to group the bits.

Questions & Answers Q&A

Quiz #1 Questions & Answers จากข้อมูล 1 0 0 1 0 1 1 1 0 0 1 0 จากข้อมูล 1 0 0 1 0 1 1 1 0 0 1 0 จงแสดงลักษณะของสัญญาณเมื่อใช้การ Encoding ด้วยวิธีการต่างๆ ดังต่อไปนี้ NRZ-I RZ Pseudo Ternary Manchester Code Differential Manchester Code คะแนนเต็ม 10 คะแนน