บทที่ 2 Operator and Expression

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
ประเภทของข้อมูล Excel 2007
BC320 Introduction to Computer Programming
Department of Computer Business
โปรแกรมควบคุมเลือกทำตามเงื่อนไข
ข้อผิดพลาดของโปรแกรม และตัวดำเนินการ
Functional programming part II
C Programming Lecture no. 4 กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
อสมการ.
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
บทที่ 5 คำสั่งแบบมีเงื่อนไข Conditional Statements
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
โครงสร้างคำสั่งแบบเลือก (Selection)
ภาษาปาสคาล ผู้สร้าง Dr.Niklaus Wirth ปี 2513
การเขียนโปรแกรม ASP การประกาศตัวแปร
ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น.
รายวิชา ง23101 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
Operators ตัวดำเนินการ
การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ บทที่ 5 การพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วย MS Visual Basic 2010 ปริญญา น้อยดอนไพร สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
หน่วยที่ นิพจน์ในภาษา C
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
C# Operation สุพจน์ สวัตติวงศ์ Reference:
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
ตัวดำเนินการ(Operator)
Chapter 3 เครื่องหมายและการคำนวณ
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
ง40208 การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
นิพจน์และตัวดำเนินการ
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ตัวดำเนินการในภาษาซี
บทที่ 4 การใช้ตัวดำเนินการ
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
บทที่ 8 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
คำสั่งควบคุมขั้นตอน Flow control statements
Operators ตัวดำเนินการ
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วย C#
บทที่ 7 เงื่อนไขในภาษาซี
บทที่ 5 รหัสควบคุมและ การคำนวณ C Programming C-Programming.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
CHAPTER 2 Operators.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Operators & Expression ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. Arithmetic Operators OperationOperatorExample Value of Sum before Value of sum after Multiply *sum = sum * 2;
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
BC320 Introduction to Computer Programming
นิพจน์และตัวดำเนินการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 Operator and Expression

หัวข้อ/เนื้อหา ความหมาย Arithmetic Operators Relational Operators Logical Operators Bitwise Operators Assignment Operators Operator Precedence

ความหมาย Operator (ตัวดำเนินการ) คือเครื่องหมายที่ใช้เชื่อมตัวกระทำการนิพจน์ ค่าคงที่ หรือตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป Operand (ตัวกระทำการ) ได้แก่ ตัวแปร ค่าคงที่ ที่กระทำการคำนวณ, เปรียบเทียบ หรือกำหนดค่า Expressions (นิพจน์) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่าคงที่ ตัวแปรต่าง ๆ โดยมีเครื่องหมาย Operators เชื่อม

Operator (ตัวดำเนินการ) Arithmetic Operators ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ Relational Operators ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ Logical Operator ตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์ Bitwise Operator ตัวดำเนินการในการเลื่อนบิต Assignment Operator ตัวดำเนินการในการกำหนดค่า

Arithmetic Operators ใช้ในการคำนวณทางด้านคณิตศาสตร์ ได้แก่ รูปแบบ result = operand + operand เช่น c = a+2 Operator ลบ ใช้เครื่องหมาย - รูปแบบ result = operand - operand เช่น c = a-2

Arithmetic Operators (ต่อ) รูปแบบ result = operand * operand เช่น c = a*2 Operator หาร ใช้เครื่องหมาย / รูปแบบ result = operand / operand เช่น c = a/2

Arithmetic Operators (ต่อ) Operator Modulate ใช้เครื่องหมาย % รูปแบบ result = operand % operand เช่น c = a%2 Operator การเพิ่มค่า ใช้เครื่องหมาย ++ รูปแบบ operand++ เช่น a++ มีค่าเหมือนกับ a = a+1

Arithmetic Operators (ต่อ) รูปแบบ operand-- เช่น a-- มีค่าเหมือนกับ a = a-1

Arithmetic Operators ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ คำอธิบาย ตัวอย่าง + บวก a+b ผลลัพธ์คือ a บวก b - ลบ a-b ผลลัพธ์คือ a ลบ b * คูณ a*b ผลลัพธ์คือ a คูณ b / หาร a/b ผลลัพธ์คือ a หาร b % หาเศษจากการหาร a%b ผลลัพธ์คือเศษจาก a หาร b เช่น (5%3 เท่ากับ 2) ++ การเพิ่มค่า a++ ผลลัพธ์คือ a=a+1 -- การลดค่า a-- ผลลัพธ์คือ a=a-1

Relational Operators หรือ Comparison Operator ใช้ในการเปรียบเทียบค่าของOperand หรือเปรียบเทียบระหว่างค่า 2 ค่า ผลที่ได้จะเป็นจริงกับเท็จ จริง(TRUE) และ เท็จ (FALSE)

Relational Operators ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ คำอธิบาย ตัวอย่าง == เท่ากับ a==b จะเป็นจริงเมื่อ a เท่ากับ b != ไม่เท่ากับ a!=b จะเป็นจริงเมื่อ a ไม่เท่ากับ b < น้อยกว่า a < b จะเป็นจริงเมื่อ a น้อยกว่า b <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ a <= b จะเป็นจริงเมื่อ a น้อยกว่าหรือเท่ากับ b > มากกว่า a > b จะเป็นจริงเมื่อ a มากกว่า b >= มากกว่าหรือเท่ากับ a >= b จะเป็นจริงเมื่อ a มากกว่าหรือเท่ากับ b

Logical Operator ตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์ ตัวดำเนินการประเภทนี้ใช้เปรียบเทียบข้อมูลด้านตรรกศาสตร์ ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้จากการทำงานจะเป็นจริง (True) หรือเท็จ (False) เท่านั้น ใช้เพื่อการตัดสินใจในการทำงานของแอพพลิเคชั่น

Logical Operator ตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์ คำอธิบาย ตัวอย่าง ! นิเสธ (Negation) !a ผลลัพธ์คือนิเสธของ a (มีค่าความจริงตรงข้ามกับ a) && และ (And) a && b ผลลัพธ์จะเป็นจริงเมื่อ a และ b ต่างเป็นจริง || หรือ (Or) a || b ผลลัพธ์จะเป็นจริงเมื่อ a หรือ b เป็นจริง

Assignment Operator ตัวดำเนินการในการกำหนดค่า เป็นการกำหนดค่าของการคำนวณหรือตรรกศาสตร์โดยมีเครื่องหมาย = เป็นสำคัญ

ภาษา ตัวดำเนินการ ความหมาย C# C Visual Basic PHP คณิตศาสตร์ บวก ลบ คูณ หาร หารเอาเศษ + - * / % Mod เปรียบเทียบ มากกว่า น้อยกว่า มากกว่าหรือเท่ากับ น้อยกว่าหรือเท่ากับ เท่ากับ ไม่เท่ากับ > < >= <= == != = <> ตรรกะ และ หรือ นิเสธ && || ! And Or Not &

ลำดับความสำคัญของตัวดำเนินการ (Operator Precedence) ลำดับความสำคัญในการทำงานของตัวดำเนินการของโปรแกรม โดยเรียงจากความสำคัญทำงานก่อน จนถึงการทำงานอันดับสุดท้าย ซึ่งจะเห็นว่าจะทำงานในวงเล็บก่อนเสมอ และขั้นตอนสุดท้าย คือการกำหนดค่า โดยการทำงานจะดำเนินจากซ้ายไปขวา และจากบนลงล่างเสมอ

ลำดับความสำคัญของตัวดำเนินการ () ++ ! ~ * / % + - > < >= <= = = != && & || | ^ =

การบ้าน จงพิจารณาว่านิพจน์ต่อไปนี้ให้ผลเหมือนกันหรือไม่ เมื่อกำหนดให้ a=true, b=false, c=true a||(b&&c) และ a||b&&a||c !(a||b) และ !a&&b ให้เขียนลำดับการทำงานและหาผลลัพธ์ของนิพจน์ต่อไปนี้ 1+2*3/4+2-1 1+(2*3)/(4+2)-1 2*(1+(4/5)/2)*(2-5%3)

การบ้าน จงหาผลลัพธ์ของ a*b/c==b>0||a%b++--a/c++ เมื่อ a=2, b=3, c=2

เอกสารประกอบการเรียนอื่นๆ ให้ ดาวน์โหลดจากเว็บ http://pirun.ku.ac.th/~faasppp ลิงค์ที่ Evening Class และสัปดาห์หน้างดเรียน lecture เฉพาะวันอังคารที่ 23 มิย. 52