พัฒนาการของคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
Advertisements

นางสาวปานฤทัย วรรณชิต ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย วิชา คอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ป
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
องค์ประกอบของสำนักงานสมัยใหม่
วิชานวัตกรรมและการจัดการเทคโนโลยี
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ประเภทของข้อมูล Excel 2007
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
เกณฑ์การให้คะแนน กลางภาค 60 คะแนน สอบกลางภาค 20 คะแนน
พัฒนาการคอมพิวเตอร์ ช่วงชั้นที่ 3
ภาษาคอมพิวเตอร์ กฎเกณฑ์เกี่ยวกับคำศัพท์ ไวยากรณ์ และ หลักภาษาในการเขียนคำสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งให้กับเราได้ มีหลากหลายชนิดต่างๆ กัน.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
หลักการดำเนินชีวิตอย่างปลอดภัยโดย สัปปุริสธรรม 7
สื่อการเรียนรู้ เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
COMPUTER.
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต รหัสวิชา
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
ความหมาย และวิวัฒนาการ ของ ระบบปฏิบัติก าร.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
Surachai Wachirahatthapong
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์โครงสร้าง
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
คอมพิวเตอร์ เบื้องต้น เสนอ อ.ฐิตาพร ดวงเกตุ
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ภาควิชา เทคโนโลยีการศึกษา
ขั้นตอนการทำงานและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Process Analysis 2 การวิเคราะห์กระบวนการ
เรื่อง ซอฟต์แวร์ตัวเก่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
โดย นายธีระพงษ์ มะลัยทิพย์
ระบบปฏิบัติการ ( Operating System : OS )
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหาดใหญ่)
Greening of IT.
วิวัฒนการของคอมพิวเตอร์
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
นางสาวชุติมา อักขราภรณ์ ตอนB19
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
อ. ปริญญา น้อยดอนไพร (V ) เทคโนโลยี มัลติมีเดีย (MULTIMEDIA TECHNOLOGY) บทที่ 2 วิวัฒนาการมัลติมีเดีย.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยี ในการประกอบอาชีพ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102 ผู้สอน….ครูธีระพล เข่งวา
จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง เลขที่ 14
 ในปัจจุบันการนำคอมพิวเตอร์ไปใช้งาน ของประเทศ ต่างๆ ทั่วโลก อยู่ที่การใช้สารสนเทศเป็นส่วนใหญ่ แนวโน้มของระบบ จัดการข้อมูลของยุคนี้ เริ่มเปลี่ยน จากระบบ.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ (Softwarre)
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยรับเข้า ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก ปัจจุบันมีสื่อต่าง ๆ ให้เลือกใช้ได้มากมาย แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ 1.แป้นพิมพ์ (Keyboard) 2.เมาส์
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พัฒนาการของคอมพิวเตอร์

พัฒนาการจากอดีตถึงปัจจุบัน ยุคก่อนการใช้ไฟฟ้า ยุคที่มีการใช้ไฟฟ้า เครื่องคำนวณในยุคประวัติศาสตร์ ลูกคิด เครื่องคำนวณของปาสคาล เครื่องทอผ้าอัตโนมัติด้วยกลไกล เครื่องคำนวณมาร์กวัน

ยุคก่อนการใช้ไฟฟ้า ลูกคิด เครื่องคำนวณของปาสคาล เครื่องทอผ้าอัตโนมัติด้วยกลไกล

ยุคที่มีการใช้ไฟฟ้า เครื่องคำนวณมาร์กวัน

ลูกคิด ลูกคิด (Abacus) เป็นเครื่องคำนวณเครื่องแรก ที่ มนุษย์ได้ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นมา โดยชาว ตะวันออก (ชาวจีน) และยังมีใช้งานอยู่ในปัจจุบัน มีลักษณะต่างๆ ออกไป เช่น ลักษณะลูกคิด ของจีน ซึ่งมีตัวนับรางบน สองแถว ขณะที่ ลูกคิดของญี่ปุ่นมีตัวนับรางบนเพียงแถวเดียว แม้ เป็นอุปกรณ์สมัยเก่า แต่ก็มีความสามารถในการ คำนวณเลขได้ทุกระบบ

เครื่องคำนวณของปาสคาล เครื่องคำนวณของปาสกาล ประดิษฐ์ในปี ค.ศ. 1642 โดย เบลส์ ปาสกาล (Blaise Pascal :1623 - 1662) นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส โดยเครื่องคำนวณนี้มีลักษณะเป็นกล่องสี่เหลี่ยม มี ฟันเฟืองสำหรับตั้งและหมุนตัวเลขอยู่ด้านบน ถือได้ว่า เป็น “เครื่องคำนวณใช้เฟืองเครื่องแรก” โดยใช้หลักการ หมุนของเฟือง และการทดเลขเมื่อเฟืองหมุนไปครบรอบ โดยแสดงตัวเลขออกที่หน้าปัด เครื่องมือของปาสคาล สามารถใช้ได้ดีในการคำนวณการบวกและลบ ส่วนการ คูณและหารยังไม่ดีเท่าที่ควร

เครื่องคำนวณปาสคาล

เครื่องทอผ้าอัตโนมัติด้วยกลไกล ปี ค.ศ. 1801 โจเซฟ แมรี่ แจคคาร์ด (Joseph Marie Jacuard ) ช่างทอผ้าชาวฝรั่งเศส ได้พัฒนาเครื่องทอผ้า ให้ทอลายได้ตามรูปแบบที่ต้องการ โดยการใช้เทป กระดาษเจาะรูควบคุมการเคลื่อนที่ของเครื่องทอผ้า

เครื่องผลต่างของแบบเบจ (Babbage's Difference Engine) ชาร์ลส แบบเบจ (Charles Babbage: 1792 - 1871) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้ประดิษฐ์เครื่องผลต่าง (Difference Engine) ขึ้นมาในปี 1832 เป็นเครื่องคำนวณที่ ประกอบด้วยฟันเฟืองจำนวนมาก สามารถคำนวณค่า ของตารางได้โดยอัตโนมัติ แล้วส่งผลลัพธ์ไปตอกลงบน แผ่นพิมพ์สำหรับนำไปพิมพ์ได้ทันที

เครื่องวิเคราะห์ของแบบเบจ (Babbage's Analytical Engine) ต่อมาแบบเบจได้พัฒนาเครื่องวิเคราะห์ ซึ่งจะ ประกอบด้วย หน่วยความจำ ซึ่งก็คือ ฟันเฟือง หน่วยคำนวณ ที่สามารถบวกลบคูณหารได้ บัตรปฏิบัติ คล้าย ๆ บัตรเจาะรู้ใช้เป็น ตัวเลือกว่าจะคำนวณอะไร บัตรตัวแปร ใช้เลือกว่าจะใช้ข้อมูลจาก หน่วยความจำใด ส่วนแสดงผล คือ เครื่องพิมพ์ หรือ เครื่องเจาะบัตร บุคคลที่นำแนวคิดของแบบเบจมาสร้างเครื่อง ก็ คือลูกชายของแบบเบจ ชื่อ เฮนรี่ (Henry) ในปี 1910

เครื่องวิเคราะห์ของแบบเบจ

จากการคำนวณด้วยเครื่องวิเคราะห์นี้มีลักษณะใกล้เคียง กับส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน จึงทำให้ ชาร์ลส แบบเบจ (Charles Babbage) ได้รับการยกย่อง ว่าเป็น “บิดาแห่งคอมพิวเตอร์”

เครื่องคำนวณมาร์กวัน (Mark I) ในปี ค.ศ. 1896 ฮอลเลอริช ได้จดทะเบียนก่อตั้งบริษัท เพื่อผลิตและจำหน่ายเครื่องจักรช่วยในการคำนวณ โดย ใช้ชื่อบริษัท คอมพิวติง เทบบูลาติง เรดคอสติง หลังจากนั้นใน ปี ค.ศ. 1943 เปลี่ยนชื่อมาเป็นบริษัท ไอบีเอ็ม (International Business Machine : IBM) บริษัท ไอบีเอ็ม นี้มีบทบาทสำคัญในการผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ รุ่นแรก ๆ ของโลก Mark I เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ของไอบีเอ็มในปี 1943 บริษัทไอบีเอ็ม (IBM: International Business Machines Co.,) โดยโธมัส เจ. วัตสัน (Thomas J. Watson) ได้พัฒนาเครื่องคำนวณที่มีความสามารถเทียบเท่ากับ คอมพิวเตอร์ เป็นการนำเอาเทคโนโลยีเครื่องวิเคราะห์ แบบแบบเบจมาปรับปรุง

ในปี 1943 บริษัทไอบีเอ็ม (IBM: International Business Machines Co ในปี 1943 บริษัทไอบีเอ็ม (IBM: International Business Machines Co.,) โดยโธมัส เจ. วัตสัน (Thomas J. Watson) ได้พัฒนาเครื่องคำนวณที่มีความสามารถเทียบเท่ากับ คอมพิวเตอร์ ซึ่งก็คือ เครื่องคิดเลขที่ใช้เครื่องกลไฟฟ้า เป็นตัวทำงาน ประกอบด้วยฟันเฟืองในการทำงาน อัน เป็นการนำเอาเทคโนโลยีเครื่องวิเคราะห์แบบแบบเบจมา ปรับปรุงนั่นเอง เครื่องนี้ยังไม่สามารถบันทึกคำสั่งไว้ใน เครื่องได้ มีความสูง 8 ฟุต ยาว 55 ฟุต ซึ่งก็คือ เครื่อง Mark I หรือชื่อทางการว่า Automatic Sequence Controlled Calculator