การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล (Data Validation)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การควบคุมตำแหน่งการแสดงผล และการจัดวางข้อมูลบนจอภาพ
Advertisements

การใส่ลูกเล่นให้กับงานนำเสนอ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐาจข้อมูล
การอบรมการใช้ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
หลักการบันทึกข้อความ
เทคโนโลยีฐานข้อมูลสำนักงาน
Ajax อ.วชิระ หล่อประดิษฐ์ ระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
Lecture 10 : Database Documentation
Create Table in MS Access
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลมติคณะรัฐมนตรี
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
หน้าจอแรกให้ระบุ user name และ password ( กรณีสมัคร ทุน Window I) ถ้าสมัครทุน Window II คลิกลงทะเบียน เพื่อดูว่ามีต้นสังกัดระดับมหาวิทยาลัย / คณะ / ภาควิชาร่วม.
Visual Basic.
Microsoft Access.
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
Microsoft Access.
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
การสร้างบทเรียน CAI ด้วย Flash
ขั้นตอนการแนะนำนักศึกษาในการ เข้าใช้งานระบบ LMS ด้วยโปรแกรม M OODLE.
SCC : Suthida Chaichomchuen
โปรแกรม Microsoft Access
การใช้โปรแกรมประยุกต์ ด้านการนำเสนองาน
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
1.  กลุ่มคอนโทรลที่ทำหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้องของ ข้อมูลที่รับจากเว็บฟอร์ม เช่น ตรวจสอบเมื่อผู้ใช้ใส่ ข้อมูลไม่ครบ หรือใส่ข้อมูลผิดประเภท 2.
โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมแบบ Structured Programming และการจัดการตรวจสอบข้อผิดพลาด.
ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลและขอบเขตข้อมูล
Chapter 4 การสร้าง Application
ครูรัตติยา บุญเกิด.
การรับและแสดง ข้อมูล ง การเขียนไดนามิกเว็บ เพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การใช้คำสั่ง เงื่อนไข การเขียนเว็บเพจโดยใช้ ภาษาสคริปต์ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายวิชาภาคปฏิบัติ
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
การวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอัลกอริทึ่ม Lec03 : 25/03/2551 การทำงานกับ Event ต่าง ๆ โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม
การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
วิชา :: การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ขั้นสูง
การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ขั้นสูง
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วย vb.net2005
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
โปรแกรม Microsoft Access
ชื่อหัวข้อโครงงาน (ภาษาไทย) Project Title (English)
บทที่ 3 การสร้าง Appication แบบ Windows Form
การใช้คำสั่งเงื่อนไข
การลงทะเบียนเพื่อตรวจสอบ ข้อมูล เริ่มเข้าสู่หน้าหลักของเว็บเพจรายวิชา.
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
สำหนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
โรงเรียนวัดหนองตางู สพท.นว.2 (ภาคกลาง)
การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ User Interface Design
บทที่ 9 การใช้งานฟอร์มและคอนโทรลต่าง ๆ
การทำงานและคำสั่งพื้นฐาน
บทที่ 5 เทคนิคการสร้างแอพพลิเคชัน
การใช้สูตรคำนวณ ในโปรแกรม Microsoft Excel 2007
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
อ.วิวัฒน์ ชินนาทศิริกุล
การกระทำทางคณิตศาสตร์
รายวิชา การจัดการฐานข้อมูล
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สัปดาห์ที่ 5 การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ.
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล (Data Validation) ภาควิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 1

วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงรูปแบบการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล เพื่อให้นักศึกษารู้จักคอนโทรลและคุณสมบัติที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ยกตัวอย่างการสร้างแอฟฟลิเคชั่นโดยที่มีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล

การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล เป็นขบวนการหนึ่งที่จะลดความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นกับระบบงาน โดยผู้พัฒนาโปรแกรมสามารถกำหนดคุณสมบัติบางประการเพิ่มเติมที่คอนโทรลโดยตรง หรือสร้าง validation control ขึ้นมาตรวจสอบก็ได้ Input Validation Control - RequiredFieldValidator - Compare Validator - RangeValidator - RegularExpressionValidator - CustomValidator - ValidationSummary คอนโทรลกลุ่มนี้มีอยู่ใน Toolbox กลุ่ม Validation

สร้างหน้าเว็บสำหรับตรวจสอบข้อมูลโดยให้กรอกข้อมูลดังนี้ txtName txtLastname txtNickname txtSex txtAge txtEmail txtNum1 txtNum2

การใช้งาน Input Validation Control RequiredFieldValidator เป็นคอนโทรลที่ใช้ตรวจสอบว่าผู้ใช้ป้อนข้อมูลในคอนโทรล เช่น textbox ที่ระบุหรือไม่ ถ้ายังไม่ป้อนจะสร้างข้อความแจ้งให้ผู้ใช้ทราบ ดังนั้นต้องระบุที่ RequiredFieldValidator ด้วยว่าจะให้ตรวจสอบ textbox ใด และให้หากไม่ป้อนข้อมูลจะให้แสดงข้อความอย่างไร ตัวอย่างการจะกำหนดให้ textbox ชื่อนักศึกษาต้องป้อนข้อมูล ทำดังนี้ 1. คลิกที่ Toolbar เพื่อเลือกกลุ่ม Validation 2. เลือก RequiredFieldValidator 3. ลาก RequiredFieldValidator ไปไว้ในตำแหน่งทีต้องการ 4. กำหนดคุณสมบัติ ControlToValidate เป็น textbox ตัวที่ต้องการตรวจสอบ 5. กำหนดคุณสมบัติ ErrorMessage เป็น ยังไม่ได้ป้อนข้อมูล 6. กำหนดคุณสมบัติ Text เป็น กรุณาป้อนข้อมูลให้ครบถ้วน ดังภาพ

การใช้งาน Input Validation Control (ต่อ) 3 1 2 ภาพผลลัพธ์ 4 5 6

การใช้งาน Input Validation Control (ต่อ) CompareValidator เป็นคอนโทรลที่ใช้เปรียบเทียบข้อมูล ทำได้หลายลักษณะ คือ - เปรียบค่าข้อมูลในฟิลด์หนึ่งเท่ากับข้อมูลในอีกฟิลด์หนึ่ง ภาพผลลัพธ์

การใช้งาน Input Validation Control (ต่อ) เปรียบค่าข้อมูลในฟิลด์หนึ่งกับค่าคงที่ ซึ่งสามารถเปรียบ > , >=, <, <=, =,<> ก็ได้ เปรียบค่าประเภทข้อมูลในฟิลด์หนึ่ง ภาพผลลัพธ์

การใช้งาน Input Validation Control(ต่อ) RangeValidator คอนโทรลนี้ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อนอยู่ภายในขอบเขตที่กำหนดหรือไม่ ภาพผลลัพธ์

การใช้งาน Input Validation Control(ต่อ) RegularExpressionValidator คอนโทรลนี้ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อนนั้นสอดคล้องกับรูปแบบ ที่กำหนดหรือไม่ ภาพผลลัพธ์ 2 1 3

การใช้งาน Input Validation Control(ต่อ) CustomValidator คอนโทรลนี้ใช้ในการตรวจสอบว่าผู้ใช้กรอกข้อมูลมาถูกต้องตามเงื่อนไขที่เรากำหนดขึ้นมาเองหรือไม่ <asp:CustomValidator id=“ชื่ออ้างอิง” ControlToValidate=“ชื่อControl” ClientValidationFunction=“ชื่อฟังก์ชั่นหรือโพรซีเยอร์" OnServerValidate=“ชื่อฟังก์ชั่นหรือโพรซีเยอร์" ErrorMessage=“ข้อความที่จะแสดงใน ValidationSummary“ Text=“ข้อความที่จะแสดง” ForeColor=“สีตัวอักษร“ Backcolor=“สีพื้น” </asp:CustomValidator>

การใช้งาน Input Validation Control(ต่อ) ตัวอย่าง id : text1 สร้าง CustomValidator - ControlTovalidate : text1 - Text : “กรุณากรอกเป็นเลขคู่เท่านั้น - ErrorMessage : “กรอกข้อมูลไม่ถูกต้อง”

การใช้งาน Input Validation Control(ต่อ) ตัวอย่าง Protected Sub CustomValidator1_ServerValidate(ByVal source As Object, ByVal args As System.Web.UI.WebControls.ServerValidateEventArgs) Handles CustomValidator1.ServerValidate If ((Text1.Text Mod 2) = 0) Then args.IsValid = True Else args.IsValid = False End If End Sub

การใช้งาน Input Validation Control(ต่อ) นอกจากนี้ ยังมี ValidationSummary เป็นคอนโทรลที่ใช้ในการสรุปผลข้อผิดพลาดจากการตรวจสอบภายในเว็บเพจหน้านั้น ใช้ในกรณีที่มีการตรวจสอบความถูกต้องหลายอย่าง ตัวอย่างเช่น ตัวอย่าง การออกแบบหน้าจอซึ่งประกอบด้วย ชื่อ อายุ เงินเดือน และโทรศัพท์ของพนักงานและตรวจสอบว่าข้อมูลตามเงื่อนไข ดังนี้ - ชื่อ ต้องกรอก - อายุ ต้องไม่ต่ำกว่า 20 ปี และต้องเป็นตัวเลข - เงินเดือน ต้องอยู่ระหว่าง 10,000 – 100,000 บาท - โทรศัพท์ เป็นตามรูปแบบโทรศัพท์สากล เมื่อคลิกปุ่มยืนยันให้แสดงสรุปข้อผิดพลาดทั้งหมด

การใช้งาน Input Validation Control(ต่อ) ID : txtName ID : txtAge ID : txtSalary ID : txtTelphone ID : btnSubmit Text : ยืนยัน

การใช้งาน Input Validation Control(ต่อ) 1. สร้าง RequiredFieldValidator - ControlTovalidate : txtName - ErrorMessage : “ไม่ได้ป้อนชื่อพนักงาน” - Text : “กรุณาป้อนชื่อ” 2. สร้าง Compare Validator1 - ControlTovalidate : txtAge - ErrorMessage : “ช่วงอายุไม่ถูกต้อง” - Text : “อายุไม่ต่ำกว่า 20 ปี” - Operator : Greater Than Equal - ValueToCompare : 20 สร้าง Compare Validator2 - ControlTovalidate : txtAge - ErrorMessage : “ข้อมูลประเภทอายุไม่ถูกต้อง” - Text : “ข้อมูลอายุต้องเป็นตัวเลข” - Operator : Data Type Check - Type : integer

การใช้งาน Input Validation Control(ต่อ) 3. สร้าง RangeValidator - ControlTovalidate : txtSalary - ErrorMessage : “ข้อมูลเงินเดือนไม่ถูกต้อง” - Text : “เงินเดือนระหว่าง 10,000 – 100,000 บาท” - MaximumValue : 100000 - MinimumValue : 10000 4. สร้าง RegularExpressionValidator - ControlTovalidate : txtTelephone - ErrorMessage : “รูปแบบโทรศัพท์ไม่ถูกต้อง” - Text : “รูปแบบโทรศัพท์ คือ 00-0000-0000” - ValidationExpression : 00-0000-0000 5. สร้าง ValidationSummary

การใช้งาน Input Validation Control(ต่อ) ภาพผลลัพธ์

HW3 ให้ออกแบบหน้าจอและกำหนดคุณสมบัติเพื่อให้แสดงผล ดังนี้