สารไวต่อปฏิกิริยาเคมี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ โรงเรียนอุดมดรุณี จังหวัดสุโขทัย
Advertisements

ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
ห้องปฏิบัติการต่างๆ.
Dust Explosion.
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
สารกัดกร่อน.
สารที่เข้ากันไม่ได้.
การเสื่อมเสียของอาหาร
แบบฝึกหัด.
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
น้ำมันไบโอดีเซล คืออะไร
การจำแนกประเภทอุบัติเหตุของไอแอลโอ

1. การจัดแยกประเภทของเสียในห้องปฏิบัติการ 2
โดย สมาคมการช่วยชีวิตและดับเพลิง FARA
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่1
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “สถานการณ์มลพิษทางอากาศ ในบรรยากาศในภาคตะวันออก” หลักการและเหตุผล มลภาวะทางอากาศ (Air pollution) เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ.
องค์ประกอบของแก้ว องค์ประกอบของแก้วชนิดต่างๆที่สำคัญ ตลอดจนสมบัติและประโยชน์ในการประยุกต์ใช้ได้แสดงในตารางที่ 1.
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
รู้จัก...ก๊าซหุงต้ม (LPG)...ให้มากขึ้น...
สารเมลามีน.
การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย
ทางเลือกในการควบคุมยุงพาหะนำโรค
ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง กำหนดขนาด จำนวน และคุณภาพของเครื่องดับเพลิงสำหรับรถที่ใช้ในการขนส่งสัตว์หรือสิ่งของ ลักษณะ 4 (รถบรรทุกวัสดุอันตราย) พ.ศ.
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4209 (พ. ศ
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้ง ไอน้ำมันเบนซินจากคลังน้ำมันเชื้อเพลิง ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กําหนดปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจากโรงงานผลิตแก้วและกระจก พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 มิถุนายน 2555.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 กฎกระทรวง กําหนดยุทธภัณฑ์ของ สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ ( องค์การมหาชน ) ที่ไม่อยู่ภายใต้ บังคับกฎหมายว่าด้วยการควบคุม.
เตาไฟฟ้า.
เครื่องดูดฝุ่น.
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
เครื่องถ่ายเอกสาร.
ไดร์เป่าผม.
v v v v อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะและการปั๊มโลหะ
ผลิตเป็นเม็ดพลาสติกสี
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
การเป็นลมและช็อก.
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
Globally Harmonized System : GHS
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
การจำแนกประเภทของสาร
มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์
ความปลอดภัยในการทำงาน
การระเบิด Explosions.
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
Major General Environmental Problems
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
Alkynes 1-butyne 2-butyne
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยใน การดำเนินงาน ( ฉบับที่ 4) พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
โครงการจัดทำข้อมูลผ่านเว็บไซต์
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4210 (พ. ศ
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
ข้อเสนอความคิดเห็นโรงงานถลุงหรือหลอมโลหะ รวมเหล็กและเหล็กกล้า
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งสารเบนซีน และสาร 1, 3 - บิวทาไดอีน จากโรงงานอุตสาหกรรมเคมี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง การกำหนดบริเวณอันตราย ในการติดตั้งระบบไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า และบริภัณฑ์ของสถานที่ใช้ก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.
มลภาวะ (pollution).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สารไวต่อปฏิกิริยาเคมี

สารไวต่อปฏิกิริยาเคมี ทำปฏิกิริยารุนแรงปล่อยความร้อนหรือแก๊สปริมาณมากอย่างรวดเร็ว จนถ่ายเทหรือกระจายสู่สิ่งแวดล้อมไม่ทัน ทำให้ควบคุมสถานการณ์ไม่ได้ สารระเบิดได้ (explosive) สารไวต่อน้ำ (water – sensitive) สารไวต่ออากาศ (air – sensitive) ของผสมของออกซิไดเซอร์และรีดิวเซอร์ (oxidizers with reducers)

สารไวต่ออากาศ (air – sensitive) - สารที่ทำปฏิกิริยากับ O2 ในอากาศ - ประเภทของสารไวต่ออากาศ *ผงโลหะ เช่น zine , nickel , titanium *โลหะแอลคาไล เช่น sodium , potassium *ไฮโดรด์ เช่น diborate , barium hydride *สารอื่นๆ เช่น sodium amide , organometallics naxt

สารไวต่อน้ำ สารซึ้งเกิดปฏิกิริยาคายความร้อนหรือลุกติดไฟเมื่อสัมผัสกับน้ำ ได้แก่ โลหะแอลคาไล (Alkali metals) โลหะแฮไลด์ (Metal halides) โลหะคาร์ไบด์(Metal carbides) และสารประกอบโลหะอินทรีย์ต่างๆ เป็นต้น สัญลักษณ์ของสารไวต่อน้ำตาม NFPA สมาคมป้องกันอัคคีภัยแห่งชาติ ของสหรัฐอเมริกา next

สัญญาลักษณ์ ของสารไวต่อน้ำ w next

ข้อควรระวังในการใช้สารที่ไวปฏิกิริยากับน้ำ มีดังต่อไปนี้   -ไม่ควรเก็บสารไวต่อน้ำ ในบริเวณที่ติดตั้งระบบพ่นน้ำอัตโนมัติเมื่อเกิดไฟไหม้ -ต้องเก็บในที่เย็น และแห้ง -แยกเก็บจากสารไวต่อการเกิดปฏิกิริยาอื่นๆ -ติดป้ายบอก “ห้ามใช้น้ำบริเวณนี้” back

สารระเบิด สารเคมีซึ่งอาจติดไฟหรือระเบิดเมื่อได้รับพลังงานในรูปของความร้อน หรือเปลวไฟ หรือแรงเสียดทาน หรือแรงกระแทกแบบ lmpact หรือแบบ Shock ได้แก่ สารระเบิด สารเพอร์ออกไซด์อินทรีย์ (Organic peroxide) สารทำให้เกิดฟองอากาศ (Blowing agent) ผลิตภัณฑ์ไนโทรเซลลูโลส ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ แอมโมเนียมไนเทรตและปุ๋ยเคมีที่มีแอมโมเนียมไนเทรตเป็นองค์ประกอบสารเหล่านี้มักจะประกอบด้วยกลุ่มพันธะของ N-O , N-N , O-O และ O-X สารระเบิดได้ที่ทำขึ้นเพื่อใช้เป็นวัตถุระเบิด -ผงดินปืน -Nitroglycerine กับ ammonium nitrate หรือ potassium nitrate next

การป้องกันการระเบิดโดยเติมตัวยับยั้ง next สารไวต่อการเกิดปฏิกิริยา ตัวยับยั้ง Picric acid น้ำ Methyl vinyl ketone Triethanolamine Lead azide Acrylaldehyde Hydroquinone Disodium acetylide

ข้อควรระวังในการใช้สารระเบิด 1.ไม่ใช้หรือเก็บสารดังกล่าวข้างต้นไว้ในปริมาณมากๆ 2.ควบคุมสารตัวอย่างข้างต้นอย่างระมัดระวัง เมื่อใช้ในปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน (Polymerization) และปฏิกิริยาออกซิเดชัน หรือปฏิกิริยาคายความร้อนอื่นๆ 3.ไม่ใช้พายตัก (Spatula) ที่ทำด้วยโลหะ ไม่ใช้จุกอุดภาชนะที่ทำด้วยแก้ว (Ground glass plug) 4.รวมถึงข้อควรระวังสำหรับสารติดไฟหรือเผาไหม้ได้   back

เอกสารอ้างอิง รศ.ดร.ขันทอง สุนทรภา.ความปลอดภัยของการใช้สารเคมี.สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จบการนำเสนอ

สมาชิกกลุ่มที่ 2 นางสาววารุณี ศิริจันทร์ รหัส 115410902026-7 นางสาววนิดา เจียมสุภา รหัส 115410902067-1 นางสาวรุ่งทิววา รัตนวาร รหัส 115410902036-6