สารไวต่อปฏิกิริยาเคมี
สารไวต่อปฏิกิริยาเคมี ทำปฏิกิริยารุนแรงปล่อยความร้อนหรือแก๊สปริมาณมากอย่างรวดเร็ว จนถ่ายเทหรือกระจายสู่สิ่งแวดล้อมไม่ทัน ทำให้ควบคุมสถานการณ์ไม่ได้ สารระเบิดได้ (explosive) สารไวต่อน้ำ (water – sensitive) สารไวต่ออากาศ (air – sensitive) ของผสมของออกซิไดเซอร์และรีดิวเซอร์ (oxidizers with reducers)
สารไวต่ออากาศ (air – sensitive) - สารที่ทำปฏิกิริยากับ O2 ในอากาศ - ประเภทของสารไวต่ออากาศ *ผงโลหะ เช่น zine , nickel , titanium *โลหะแอลคาไล เช่น sodium , potassium *ไฮโดรด์ เช่น diborate , barium hydride *สารอื่นๆ เช่น sodium amide , organometallics naxt
สารไวต่อน้ำ สารซึ้งเกิดปฏิกิริยาคายความร้อนหรือลุกติดไฟเมื่อสัมผัสกับน้ำ ได้แก่ โลหะแอลคาไล (Alkali metals) โลหะแฮไลด์ (Metal halides) โลหะคาร์ไบด์(Metal carbides) และสารประกอบโลหะอินทรีย์ต่างๆ เป็นต้น สัญลักษณ์ของสารไวต่อน้ำตาม NFPA สมาคมป้องกันอัคคีภัยแห่งชาติ ของสหรัฐอเมริกา next
สัญญาลักษณ์ ของสารไวต่อน้ำ w next
ข้อควรระวังในการใช้สารที่ไวปฏิกิริยากับน้ำ มีดังต่อไปนี้ -ไม่ควรเก็บสารไวต่อน้ำ ในบริเวณที่ติดตั้งระบบพ่นน้ำอัตโนมัติเมื่อเกิดไฟไหม้ -ต้องเก็บในที่เย็น และแห้ง -แยกเก็บจากสารไวต่อการเกิดปฏิกิริยาอื่นๆ -ติดป้ายบอก “ห้ามใช้น้ำบริเวณนี้” back
สารระเบิด สารเคมีซึ่งอาจติดไฟหรือระเบิดเมื่อได้รับพลังงานในรูปของความร้อน หรือเปลวไฟ หรือแรงเสียดทาน หรือแรงกระแทกแบบ lmpact หรือแบบ Shock ได้แก่ สารระเบิด สารเพอร์ออกไซด์อินทรีย์ (Organic peroxide) สารทำให้เกิดฟองอากาศ (Blowing agent) ผลิตภัณฑ์ไนโทรเซลลูโลส ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ แอมโมเนียมไนเทรตและปุ๋ยเคมีที่มีแอมโมเนียมไนเทรตเป็นองค์ประกอบสารเหล่านี้มักจะประกอบด้วยกลุ่มพันธะของ N-O , N-N , O-O และ O-X สารระเบิดได้ที่ทำขึ้นเพื่อใช้เป็นวัตถุระเบิด -ผงดินปืน -Nitroglycerine กับ ammonium nitrate หรือ potassium nitrate next
การป้องกันการระเบิดโดยเติมตัวยับยั้ง next สารไวต่อการเกิดปฏิกิริยา ตัวยับยั้ง Picric acid น้ำ Methyl vinyl ketone Triethanolamine Lead azide Acrylaldehyde Hydroquinone Disodium acetylide
ข้อควรระวังในการใช้สารระเบิด 1.ไม่ใช้หรือเก็บสารดังกล่าวข้างต้นไว้ในปริมาณมากๆ 2.ควบคุมสารตัวอย่างข้างต้นอย่างระมัดระวัง เมื่อใช้ในปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน (Polymerization) และปฏิกิริยาออกซิเดชัน หรือปฏิกิริยาคายความร้อนอื่นๆ 3.ไม่ใช้พายตัก (Spatula) ที่ทำด้วยโลหะ ไม่ใช้จุกอุดภาชนะที่ทำด้วยแก้ว (Ground glass plug) 4.รวมถึงข้อควรระวังสำหรับสารติดไฟหรือเผาไหม้ได้ back
เอกสารอ้างอิง รศ.ดร.ขันทอง สุนทรภา.ความปลอดภัยของการใช้สารเคมี.สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จบการนำเสนอ
สมาชิกกลุ่มที่ 2 นางสาววารุณี ศิริจันทร์ รหัส 115410902026-7 นางสาววนิดา เจียมสุภา รหัส 115410902067-1 นางสาวรุ่งทิววา รัตนวาร รหัส 115410902036-6