สารที่เข้ากันไม่ได้.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลอดฟลูออเรสเซนต์ fluorescent
Advertisements

กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
BIOGEOCHEMICAL CYCLE.
Dust Explosion.
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
เรื่องการฟุ้งกระจายของสารเคมีในอากาศ
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
ที่มา ที่มา โครงงาน เห็ดนางฟ้า.
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สารกัดกร่อน.
สารไวต่อปฏิกิริยาเคมี
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
การเสื่อมเสียของอาหาร
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
น้ำมันไบโอดีเซล คืออะไร
อากาศส่งผลกระทบต่อการดำรงชีพ
1. การจัดแยกประเภทของเสียในห้องปฏิบัติการ 2
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
ผงชูรสแท้หรือปลอม.
โมเลกุล เซลล์ และ ออร์กาเนลล์ (Molecules Cells and Organelles)
สภาวะ ปกติ เอ นิโญ่ ลา นิญ่า คลื่นมีฐานกว้าง 100 กม. สูงเพียง 1 ม คลื่นมีฐานกว้าง 100 กม. สูงเพียง 1 ม. เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ.
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
รู้จัก...ก๊าซหุงต้ม (LPG)...ให้มากขึ้น...
สารเมลามีน.
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
Alkyl halide Alkyl halide หรือ Aryl halide มีสูตรทั่วไป คือ R - X หรือ Ar - X มีความสำคัญในด้านต่าง ๆ เช่น ใช้เป็นยาฆ่าแมลง ยาปฏิชีวนะ.
คัมภีร์ โพธิพงษ์ และ พัชรี คำธิตา
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง กำหนดสารเคมีอันตรายที่ให้นายจ้างจัดให้มีการตรวจสุขภาพของลูกจ้าง พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 7 เมษายน พ.ศ.2552.
การจัดการน้ำ WATER MANAGEMENT.
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เตาไมโครเวฟ.
เครื่องถ่ายเอกสาร.
อุตสาหกรรมหล่อหลอมโลหะ
อุตสาหกรรม การไส อาบน้ำยาไม้ อบ ผลิตไม้บาง
ผลิตเป็นเม็ดพลาสติกสี
Phosphorus and Phosphate
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
Lab : protein chemistry JUN 27th, 2014 Rujira Patanawanitkul, M. D
ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ
สังกะสี แคดเมียม.
Globally Harmonized System : GHS
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
การจำแนกประเภทของสาร
1.สารลดแรงตึงผิว 2.ฟอสเฟต 3.ซิลิเกต 4.โซเดียมคาร์บอคซีเมทิลเซลลูโลส
Major General Environmental Problems
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
สารสกัดจากก้านเห็ดหอมแห้งที่มีเลนไธโอนีนเป็นส่วนประกอบ
การออกแบบการเรียนรู้
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
โดย ด.ช.กฤษณรักษ์ ปิ่นตา ม.1/4 เลขที่ 16
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT
เรื่อง น้ำสมุนไพร.
การเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐานในถุงพลาสติก โดยใช้วัสดุขี้เลื่อยไม้ยางพารา
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
มลภาวะ (pollution).
อันตรายจากการประกอบอาชีพที่สัมผัสกับสารเคมีและสารกำจัดศัตรูพืช
ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่ 76/2560 เรื่อง กำหนดมาตรฐานทั่วไปในการระบาย น้ำเสียลงสู่ระบบบำบัดน้ำเสียส่วนกลางในนิคมอุตสาหกรรม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
คำขอแก้ไขรายการขึ้นทะเบียน
คำขอแก้ไขรายการขึ้นทะเบียน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สารที่เข้ากันไม่ได้

สารที่เข้ากันไม่ได้ หมายถึง สารที่เมื่อผสมกันจะเกิดอันตราย แต่ถ้าอยู่ตาม ลำพังอาจไม่มีอันตราย อันตรายในที่นี้มีได้หลายแบบ อาจ เป็นอันตรายอันเนื่องมาจากสารทำปฏิกิริยากัน เกิดความน ร้อนสูงจะลุกไหม้หรือระเบิด อาจให้สารไวไฟหรือก๊าซพิษ ออกมา ดังนั้นจึงควรที่จะศึกษาคุณสมบัติของสารเคมีที่จะให้ ในการทดลองก่อนและทำตามวิธี ถ้าเป็นปฏิกิริยาที่ไม่คุ้นเคย หรือไม่มีการบันทึกไว้ก็ควรเริ่มการทดลองด้วยสารปริมาณ น้อยก่อน หากมีเหตุการณ์อะไรเกิดข้นจะได้ไม่รุนแรงนัก

1.ปฏิกิริยารุนแรง ปฏิกิริยาที่เกิดรุนแรงจากการผสมสารเคมีเข้าด้วยกัน จะให้ความร้อนสูงทำให้เกิด การเดือดพล่านและกระเด็นถ้า เป็นสารไวไฟก็อาจเกิดารลุกไหม้ได้ เวลาทำการทดลองต้อง ควบคุมอุณหภูมิของปฏิกิริยาโดยแช่ขวดในอ่างน้ำเย็น เวลา เติมสารก็เติมที่ละน้อย คนให้เข้ากันตลอดเวลา จะได้ช่วย กระจายความร้อน และอย่าปล่อยให้ปฏิกิริยาเกิดรุนแรงจน ควบคุมไม่ได้ ใส่แว่นนิรภัยป้องกันไว้

สารที่เข้าทำปฏิกิริยา ปฏิกิริยารุนแรง ชื่อสาร สารที่เข้าทำปฏิกิริยา หมายเหตุ 1.กรด 2.กรด   3. Oxidizing agent    4. Oxidizing agent น้ำ ด่าง Reducing agent สารอินทรีย์ การทำกรดให้เจือจางไม่ใช่ปฏิกิริยา ทางเคมีโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเข้มข้นมาก  เช่น กรด nitric หรือสารพวก peroxide กับ alcohol หรือโลหะ  เช่นกรด chromic กับ anthracene

สารที่เข้าทำปฏิกิริยา ชื่อสาร สารที่เข้าทำปฏิกิริยา หมายเหตุ 5.กรด sulfuric 6.กรด chromic 7.ด่าง   8.bromine Acetone Cyanhydrin Acrylonitrile Phosphorus Sulfur Acrolein, acrylonitrile Ammonia,acetylene, phosphorus(ขาว) potassium กรด nitric กับกรด acetic ลุกติดไฟหรือระเบิดได้เมื่อร้อน ปฏิกิริยา Polymerisation เมื่อถูกไอ bromine จะลุกติดไฟ แต่ถ้าถูก bromine เหลวจะระเบิด

สารที่เข้าทำปฏิกิริยา ชื่อสาร สารที่เข้าทำปฏิกิริยา หมายเหตุ 9.glycorol  10.oxygen   11.phosphine 12.น้ำ Acetic anhydride  Acrolein, acrylonitrile, hydrocarbon, น้ำมัน Bromine, chlorine, กรด nitric  Phosphorus, pentoxide, phosphorus trichloride, Sodium Alkyl aluminium Calcium oxide ความร้อนสูง  ระเบิดลุกติดไฟ ลุกติดไฟ ให้ความร้อนสูงถึง 800 องศาเซลเซียส

2.ปฏิกิริยาที่ให้ก๊าซไวไฟ ก๊าซไวไฟที่เกิดขึ้นมักจะเป็นก๊าซ Hydrogen ปฏิกิริยาที่ให้ก๊าซไวไฟ ชื่อสาร สารที่เข้าทำปฏิกิริยา หมายเหตุ 1.น้ำ   2.กรด 3.ด่าง 4.Sodium Alkali metal สารประกอบโลหะ hydride โลหะ aluminium, magnesium, zinc, chromium, iron, tin, nickel, lead โลหะ aluminium, zinc, alcohol alcohol เช่น sodium, potassium เกิดการระเบิด เช่น lithium aluminium hydride  ให้ก๊าซ hydrogen ให้ก๊าซ hydrogen แต่ช้ามาก ให้ก๊าซ hydrogen

3.สารที่ให้ก๊าซเป็นพิษ ชื่อสาร สารที่เข้าทำปฏิกิริยา หมายเหตุ 1.กรด   2.น้ำ 3.Carbon tetrachloride และ Chlorinate hydrocarbon เกลือ Cyanide สารประกอบที่มี carbon และ sulfur  Acid halide เช่น acetyl chloride, thionyl chloride ให้ก๊าซ hydrogen cyanide ที่ไวไฟด้วย ให้ก๊าซ hydrogen sulfide ให้ควันของ hydrogen chloride  เมื่อร้อนสลายตัวให้ก๊าซ phosgene

สารที่เข้าทำปฏิกิริยา ชื่อสาร สารที่เข้าทำปฏิกิริยา หมายเหตุ 4.สารประกอบ nitrate และกรด nitric 5.Sulfur และสารประกอบที่มี Sulfur   6.สารประกอบที่มี carbon และ nitrogen ขนสัตว์ ไหม พลาสติกเมลามิน 7.สารประกอบที่มี carbon ถ่าน ไม้ กระดาษ เมื่อเผาให้ก๊าซ nitrogen oxide เมื่อเผาให้ก๊าซ sulfur dioxide  เมื่อเผาในที่มีอากาศน้อยให้ก๊าซ hydrogen cyanide เมื่อเผาในที่มีอากาศน้อยให้ก๊าซ carbon monoxide ซึ่งลุกติดไฟได้ด้วย

4.ปฏิกิริยาที่เกิดการระเบิดได้ ชื่อสาร สารที่ทำปฏิกิริยาด้วย หมายเหตุ 1.ammonia, acetylene 2.ammonium nitrate      3.acetone 4.carbon disulfide Copper, silver, mercury ผงโลหะของ zinc, cadmium, copper, magnesium, lead, cobalt, nickel, dismuth, chromium, antimony  Chloroform สารประกอบ azide ให้สารระเบิดได้  ระเบิดได้เมื่อมีด่าง เนื่องจากปฏิกิริยา ให้ความร้อนสูง ได้เกลือที่ไวต่อการระเบิด

สารที่ทำปฏิกิริยาด้วย ชื่อสาร สารที่ทำปฏิกิริยาด้วย หมายเหตุ 5.chlorate 6.chlorine 7.chlorinedioxide diketene   8.hydrogen surfide กรด sulfur น้ำตาล แป้ง ถ่าน ขี้เลื่อย เกลือ ammonium Acetylene, alcohol, ether, hydrocarbon, diborane, ethane, ผงโลหะ เช่น magnesium, aluminium Mercury กรด nitric ให้ของผสมที่ระเบิดได้ ให้สารระเบิดได้ ให้ก๊าซระเบิดได้

สารที่ทำปฏิกิริยาด้วย ชื่อสาร สารที่ทำปฏิกิริยาด้วย หมายเหตุ 9.iodine Ammonia, turpentine  Chloroform,cadmium, mercury, molybdenum, zinc potassium perchlorate   chlorine benzene, carbon monoxide เหลว aiuminium, magnesium, titanium เชื้อเพลิง hydrocarbon lithium hydride เมื่อร้อน  เมื่อโลหะเป็นผง ให้ของผสมที่ระเบิดได้เมื่อเสียดสี เมื่อชื้นโลหะลุกติดไฟได้ เมื่อเป็นผง

สารที่ทำปฏิกิริยาด้วย ชื่อสาร สารที่ทำปฏิกิริยาด้วย หมายเหตุ 10.magnesium 11.oxygen เหลว 12.ozone   13.กรด perchloric 14.กรด picric Chloroform, chloromethane oxide ของ beryllium, cadmium, mercury, molybdenum, zinc potassium perchlorate chlorine benzene, carbon monoxide เหลว aiuminium }เมื่อร้อน

สารที่ทำปฏิกิริยาด้วย ชื่อสาร สารที่ทำปฏิกิริยาด้วย หมายเหตุ 15.phosphoru   16.sulfur เชื้อเพลิง hydrocarbon lithium hydride ethylene  กรด acetic ไม้ ถ่าน alcohol, phosphorus pentoxide  Copper, lead, zinc  กรด sulfonic, bromine เหลว  zine }เมื่อร้อน

อันตรายจากการสัมผัสแอมโมเนีย

ภาพตา แสดงเปลือกตาและขนตาไหม้ เยื่อบุตาอักเสบและขาดเลือดมาเลี้ยง กระจกตาดำเป็นสีขาวขุ่นและเป็นแผลถลอก