ME Exp/Lab 1, Section 8, year 2009

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PAIBOONKIJ SUPPLY LIMITED PARTNERSHIP
Advertisements

Flow Through a Venturi September 8th, 2009.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
1st Law of Thermodynamics
บทที่ 8 Power Amplifiers
การอนุรักษ์พลังงานและการประเมินผล
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
Laboratory in Physical Chemistry II
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Ordering and Liveness Analysis ลำดับและการวิเคราะห์บอกความ เป็นอยู่หรือความตาย.
Experiment 4 The Reaction Rate of Ethyl Acetate and Hydroxyl ion
งบดุลความร้อนของมหาสมุทร (Heat Budget of the Ocean)
Formulation of herbicides Surfactants
Weeds & weed management 2 กันยายน 2556 รู้จักเครื่องมือกำจัดวัชพืช
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
บทที่ 2 การผลิตและการส่งพลังงานไฟฟ้า.
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
น้ำมันไบโอดีเซล คืออะไร

ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
Mathematical Statement of the Problem
Location Problem.
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
สภาวะ ปกติ เอ นิโญ่ ลา นิญ่า คลื่นมีฐานกว้าง 100 กม. สูงเพียง 1 ม คลื่นมีฐานกว้าง 100 กม. สูงเพียง 1 ม. เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ.
Decision Limit & Detection Capability.
รู้จัก...ก๊าซหุงต้ม (LPG)...ให้มากขึ้น...
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
Combined Cycle Power Plant
คณะคุรุศาสตร์อุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม
Vibration of Torsional Disks
Centrifugal Pump.
MECHANICAL ENGINEERING EXPERIMENTAL AND LABOLATORY I
โดย สัญลักษณ์งานท่อ แผนกวิชาช่างเขียนแบบเครื่องกล
คัมภีร์ โพธิพงษ์ และ พัชรี คำธิตา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้ง ไอน้ำมันเบนซินจากคลังน้ำมันเชื้อเพลิง ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
นำเสนอโดย,,, นายสุวิทย์ เมืองวงศ์
สมาชิกกลุ่ม 9 1. นางจริยา เอียบสกุล วิทยาลัยเทคนิคภูเก็ต
การตรวจวัดน้ำมันเชื้อเพลิง ณ คลังน้ำมันฯ
และความเป็นกรด-ด่างของดิน
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
โครงการฝนหลวง โดย ด.ช.เติมยศ ธีรประเทืองกุล ม.2/7
จัดทำโดย ด.ช.ธีรัตม์ ทัศนัย
ENERGY SAVING BY HEAT PUMP.
การระเบิด Explosions.
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
“เอ็น (N) พี (P) และ เค (K)”
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
ปฏิบัติการเรื่อง การกลั่น
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดลักษณะของน้ำมันใช้ แล้วที่ผ่านกระบวนการปรับปรุง คุณภาพและเชื้อเพลิงสังเคราะห์ที่
Department of Food Engineering
วงจรอัดอากาศรถจักร ALSTHOM
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
ปฏิบัติการเรื่อง การสกัดของเหลวด้วยของเหลว Liquid – Liquid Extraction
ใบสำเนางานนำเสนอ:

2103-390 ME Exp/Lab 1, Section 8, year 2009 Heating Value of Fuel

Introduction Heating Value of Fuel ปริมาณพลังงานความร้อนที่ที่ถูกปลดปล่อยออกมาจากเชื้อเพลิงต่อหนึ่งหน่วยมวล ซึ่งเกิดจากการทำปฏิกิริยาเคมีของเชื้อเพลิงในระหว่างกระบวนการเผาไหม้

Introduction Higher Heating Value (HHV) Lower Heating Value (LHV) เป็นปริมาณพลังความร้อนที่ได้จากการเผาไหม้โดยที่ไอน้ำที่อยู่ ภายใน Bomb กลั่นตัวออกมาทั้งหมด Lower Heating Value (LHV) เป็นปริมาณพลังความร้อนที่ได้จากการเผาไหม้โดยที่ไม่มีการกลั่น ตัวของไอน้ำภายใน Bomb

Objective เพื่อศึกษาหาค่า Heating Value ของน้ำมันเตาชนิด C เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิกับเวลาของระบบ เพื่อศึกษาผลที่เกิดจากปริมาณไอน้ำใน Bomb Calorimeter

Theorem Ein – Eout + Eg = Est Ein = 0 Eout = 0 Eg = Est C.V.

Eg = HV x g Est = W∆T–C1–C2–C3+C4 Theorem HV = ค่า Heating Value C1= ความร้อนที่ได้จาก fuse wire C4 = ความร้อนที่ถูกดูดจากผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น

Theorem

Instrument 2.Thermometer 3.กระบอกตวง 1.นาฬิกาจับเวลา 4.ไม้บรรทัด 5.ตาชั่ง

Equipment 8 7 6.Bomb 8. Crucible 9.น้ำมันเตา ชนิด C 9.Fuse wire 11 12 13 14.ถัง oxygen 11.Insulated jacket 12.Stirrer 13.Electricl ignition 10.Calorimeter bucket

Experiment Method Fuse wire อย่าให้ fuse wire โดน crucible

Experiment Method

Experiment Method stirrer thermometer press the ignition button 5 min. bomb bucket filled with water thermometer insulated jacket

Calculation The corrected temperature rise , T a = time of ignition b = time when the temperature rise reaches 60% of total c = time when the temperature is maximum or when the temperature has become essentially constant Ta= temperature at time of ignition Tc= temperature at time c r1 = rate of temperature change during 5 minutes period before ignition r2 = rate of temperature change during 5 minutes period after time c

Calculation Corrected Final Temperature Maximum Temperature ,Time c Time b Ignition Time a Corrected Ignition Temperature

Calculation Heating Value ,HV W = heat capacity of water in the bucket + water equivalent of the bomb and bucket , cal/C T = the corrected temperature rise , C C1 = correction for heat of fusion of fuse wire , calories C2 = correction for heat of formulation of nitric acid , calories C3 = correction for heat of formulation of sulfuric acid , calories C4 = correction for heat of absorbed by products of combustion, calories g = mass of fuse sample , grams. ***Neglect C2 ,C3 ,C4

Calculation ***ค่า C2,C3,C4 ไม่สามารถหาได้จากการทดลองเนื่องจากเครื่องมือไม่เพียงพอ และค่าเหล่านี้มีค่าน้อยมากสามารถละทิ้งได้ เพราะฉะนั้นจะสามารถหาค่า Heating Value ได้จาก

Result Water in bomb Heating Value(HV) 0 cc 10105.5±52.2 cal/g 1 cc

Result

Discussion เมื่อพิจารณากราฟผลการทดลองที่ t = 0 s อุณหภูมิที่อ่านได้ต่ำกว่าแนวโน้มของกราฟในช่วงแรก ซึ่งเกิดจากไม่ได้ทิ้งระบบให้เข้าสู่สมดุลก่อนเริ่มจับเวลา การปรับอุณหภูมิก่อนการจุดระเบิดให้ต่ำกว่าสิ่งแวดล้อมเพื่อให้มีการถ่ายเทความร้อนมาหักล้างกัน แต่การปรับอุณหภูมิให้ต่ำกว่าสิ่งแวดล้อม 3 ˚F ทำได้ยาก การทดลองที่ใส่น้ำ 1 cc ไม่สามารถนำผลการทดลองมาเปรียบเทียบกับการทดลองอีก 2 ครั้งได้ เนื่องจากทำ การทดลองกันคนละวัน สภาพแวดล้อมจึงต่างกันต่างกัน เช่น อุณหภูมิห้องระหว่างทดลอง ความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศ เป็นต้น

Discussion หลังการทดลอง จะพบว่าน้ำในบอมบ์มีปริมาตรเพิ่มขึ้น แสดงว่าเกิดการควบแน่นของไอน้ำที่เกิดขึ้นจากการเผาไหม้สมบูรณ์ ค่าความร้อนที่ได้จากการทดลองนี้ จึงเป็นมีแนวโน้มเป็นค่าความร้อนขั้นสูง (HHV) ขณะเกิดการเผาไหม้เชื้อเพลิงอุณหภูมิจะเพิ่มขึ้นทันที เมื่อเขียนเป็นความสัมพันธ์ระหว่าง อุณหภูมิกับเวลา แล้ว กราฟที่ได้จะเป็นแบบ step up เราจึงใช้สูตรการคำนวณ T =Tc – Ta – r1(b-a) – r2(c-b) ในการการหาค่าประมาณอุณหภูมิที่เป็นแบบ step up ของเชื้อเพลิงจากอุณหภูมิของน้ำ

Conclusion Heating Value ของน้ำมันเตาชนิด C ที่ได้จากการทดลองมีค่า 10105.5±52.2 cal/g เมื่อไม่ใส่น้ำใน bomb 10181.4±55.0 Cal/g เมื่อใส่น้ำ 1 cc ใน bomb 10225.4±54.0 cal/g เมื่อใส่น้ำ 3 cc ใน bomb ถ้าสภาวะภายใน bomb เป็นสภาวะที่เป็น ไอน้ำอิ่มตัว ค่า Heating Value จะมีค่ามาก คือ Higher heating value