ข้อบกพร่องที่พบในรายงาน โดย รศ.ดร.สุชาดา บวรกิติวงศ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การวิจัยแบบกรณีศึกษา (Case Study Research) อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์
KM Learning Power ครั้งที่ 1
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
Thesis รุ่น 1.
ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี
How to write impressive SAR
Impressive SAR.
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
Seminar in computer Science
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
การอ่านและวิเคราะห์ SAR
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ชื่อตัวบ่งชี้ 3.3 : มีการนำความรู้และประสบการณ์ จากการบริการวิชาการและ วิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการ สอนและการวิจัย ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน คณะฯ ยังขาดการรวบรวม.
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.3 มีการกำหนดแผนกลยุทธ์ที่ เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน 1. เนื่องจากบุคลากรแต่ละคนมีภาระงานที่ต้อง รับผิดชอบหลายด้าน.
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.2 มีการพัฒนาสถาบันสู่องค์การ เรียนรู้โดยอาศัยผลการประเมินจาก ภายในและภายนอก ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน เนื่องจากบุคลากรแต่ละคนมีภาระงานที่ต้อง.
การเฝ้าระวังกับนโยบายสังคม
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
ประเด็นสำคัญในการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
การเขียนบทคัดย่อ และ Abstract
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง.
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การเขียนรายงาน.
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
หลักการเขียนโครงการ.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
การเขียนโครงการ.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อบกพร่องที่พบในรายงาน โดย รศ.ดร.สุชาดา บวรกิติวงศ์ และแนวทางแก้ไข โดย รศ.ดร.สุชาดา บวรกิติวงศ์

หลักการ  ไม่ควรแบ่งความรับผิดชอบ คนละ 3-4 มาตรฐาน โดยเด็ดขาด 7.1 หลักการ ขั้นตอน และเคล็ดลับการเขียนรายงาน  ไม่ควรแบ่งความรับผิดชอบ คนละ 3-4 มาตรฐาน โดยเด็ดขาด หลักการ  ไม่ควรใช้ภาษาพูดในรายงาน

 เขียนรายงานให้ตรงตามรูปแบบที่ สมศ. กำหนด ขั้นตอนการเขียน  วางแผนร่วมกัน  เขียนรายงานให้ตรงตามรูปแบบที่ สมศ. กำหนด  เขียนรายงานฉบับร่าง  เขียนรายงานฉบับจริง

 เนื้อหากระชับ ตรงไปตรงมา เคล็ดลับการเขียน  เนื้อหากระชับ ตรงไปตรงมา  เนื้อหาครอบคลุมสิ่งที่ควรรายงาน  เข้าใจเกณฑ์การประเมินอย่างลึกซึ้ง

 เนื้อหาครอบคลุม กระชับ 7.2 ลักษณะรายงานที่ดี  รูปแบบตรง  เนื้อหาครอบคลุม กระชับ

7.3 ข้อบกพร่องที่พบในรายงาน 7.3 ข้อบกพร่องที่พบในรายงาน  คำนำไม่ควรมีหมายเลขหน้า  ควรเรียงคำนำไว้ก่อนบทสรุปสำหรับผู้บริหาร  ระบุวันที่ไปตรวจเยี่ยม  ลงท้ายด้วยคำว่า “คณะผู้ประเมินภายนอก”

ข้อเสนอแนะแต่ละแห่งไม่ควรเหมือนกัน ข้อเสนอแนะไม่สอดคล้องกับผลประเมิน บทสรุปสำหรับผู้บริหาร จุดแข็งและจุดอ่อนไม่ควรเขียนเป็นจุดๆ มีกี่จุด อะไรบ้าง ข้อเสนอแนะแต่ละแห่งไม่ควรเหมือนกัน ข้อเสนอแนะไม่สอดคล้องกับผลประเมิน

สารบัญ สั้นไป ยาวไป ไม่ตรงรูปแบบ สมศ.

 มีเนื้อหาไม่ครอบคลุม  สั้นไป  ยาวไป ตอนที่ 1  มีเนื้อหาไม่ครอบคลุม  สั้นไป  ยาวไป

 ข้อมูลขาดความเป็นตัวแทน ตอนที่ 2  ตัดสินผลประเมินผิด  ข้อมูลขาดความเป็นตัวแทน  field note สรุปสั้นไป  เขียนแบบเกรงใจผู้บริหารเกินไป  มักขาดข้อมูลมาตรฐานที่ 5, มาตรฐานที่ 12  เน้นเอกสารมากเกินไป

ตอนที่ 3  ไม่เข้าใจบริบทโรงเรียน  แนวทางพัฒนาในอนาคต ไม่ได้มาจากผลประเมิน  ขาดความเชื่อมโยงกับการปฏิบัติจริง  เขียนเป็นท่อนๆ แต่ละตัวบ่งชี้ แต่ละมาตรฐาน ขาดองค์รวม

ภาคผนวก มีข้อมูลไม่ครบ

รายงานการประเมินคุณภาพในรอบแรกที่ผ่านมามักจะขาดคุณลักษณะดังนี้ :- สรุป รายงานการประเมินคุณภาพในรอบแรกที่ผ่านมามักจะขาดคุณลักษณะดังนี้ :- 1. หลักเอกภาพ เนื่องจากเป็นการนำรายงานของแต่ละคน มาต่อกัน บางครั้งแต่ละคนเขียนคนละแนว

สรุป (ต่อ) 2. หลักความสอดคล้องกับสถานศึกษา เนื่องจากผู้ประเมินมีคำตอบบางส่วนในใจไว้ล่วงหน้าแล้ว และเป็นความจริงที่สามารถใช้ได้กับทุกแห่ง ทุกเวลา แต่ไม่เหมาะสมกับสถานศึกษาที่ไปประเมินนั้นๆ เนื่องจากเกินความสามารถ ขาดงบประมาณ ขาดบุคลากร ขาดผู้นำ เป็นต้น

สรุป (ต่อ) 3. ขาดความจริงใจ เป็นรายงานที่มีแต่ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้ และตามมาตรฐานตามที่ สมศ. กำหนดเท่านั้น ในรายงานจะเต็มไปด้วยชื่อตัวบ่งชี้ เขียนเรียงต่อกันเหมือนต้องการ ทำหน้าที่ให้เสร็จ ข้อมูลอื่นที่นอกเหนือจาก ตัวบ่งชี้ดังกล่าวไม่ให้ความสำคัญ

สรุป (ต่อ) 4. ไม่เป็นรายงานที่มุ่งเน้นการพัฒนาอย่างแท้จริง เป็นรายงานที่มุ่งปริมาณมากกว่าการมุ่งคุณภาพ

ประเด็นในการตรวจสอบรายงาน 1. ในรายงานมีการอธิบายบริบทสถานศึกษาได้แก่สภาพทั่วไป การดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน เพียงพอหรือไม่ มีการอธิบายวิธีการดำเนินงานประเมิน การได้มาซึ่งข้อมูล เก็บข้อมูลจากหลายแหล่งหรือไม่ 2.

ประเด็นในการตรวจสอบรายงาน (ต่อ) 3. ข้อมูลที่ได้มีความเพียงพอและมีความเป็นตัวแทนหรือไม่ มีความน่าเชื่อถือหรือไม่ 4. รายงานผลประเมินถูกต้องตามเกณฑ์ มีข้อค้นพบตรงไปตรงมาและมาจากข้อมูลหรือไม่

ประเด็นในการตรวจสอบรายงาน (ต่อ) 5. ข้อเสนอแนะมาจากผลประเมิน เป็นรูปธรรมที่สามารถนำไปปฏิบัติได้จริงหรือไม่ เกินศักยภาพของโรงเรียนหรือไม่ 6. มีการระบุจุดแข็งพร้อมวิธีเสริมให้ดีขึ้น ระบุจุดอ่อนพร้อมวิธีแก้ไขภายใต้ข้อมูล ผลประเมินและบริบทโรงเรียนหรือไม่

ประเด็นในการตรวจสอบรายงาน (ต่อ) 7. เป็นรายงานที่ตรงตามรูปแบบที่ สมศ. กำหนด หรือไม่ 8. เป็นรายงานที่มีการบูรณาการ ใช้ได้ในชีวิตประจำวันจริง และมีประโยชน์หรือไม่

ประเด็นในการตรวจสอบรายงาน (ต่อ) 9. เป็นรายงานที่ใครอ่านก็เข้าใจตรงกันว่า ให้ใครทำอะไร ที่ไหน อย่างไร หรือไม่ 10. เป็นรายงานที่ได้รับการตรวจสอบทั้งจากทีมผู้ประเมินด้วยกันและจากผู้ประเมินอภิมานประจำหน่วยหรือไม่

The End