Co-operative education สหกิจศึกษา Co-operative education นักศึกษาสหกิจ สถาบันอุดมศึกษา องค์กรผู้ใช้บัณฑิต บัณฑิตที่มีคุณภาพ
สหกิจศึกษา( CO – OPERATIVE EDUCATION ) เป็นระบบการศึกษาที่จัดให้มีการเรียนการสอนใน สถานศึกษาสลับกับการไปหาประสบการณ์จริง จากการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการอย่างมี ระบบด้วยความร่วมมือจากสถานประกอบการ และทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เป็นระบบการศึกษาที่ผสมผสานการเรียนกับการ ปฏิบัติงาน (WORK INTEGRATED LEARNING)
ปัจจัยความรู้(New Economy):Form 1990s Knowledge – based industries * high- tech manufacturing - computers Knowledge – based services * communication training
สหกิจศึกษา • การปฏิบัติงานจริงในองค์กรผู้ใช้บัณฑิต (Work Based Learning) • การจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน (Work Integrated Learning: WIL)
มหาวิทยาลัย การเรียนภาคทฤษฎีในห้องเรียน การเรียนภาคปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ การฝึกปฏิบัติงานขั้นพื้นฐาน ( Basic Training ) ในสถานศึกษา การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ ( Professional Training ) ในสถานประกอบการ
Flexibility Job Rotation การหมุนเวียนงาน ยิ่งแลกเปลี่ยนยิ่งเพิ่มพูน
ปัจจุบันอาคารผลิตอาหาร (Mass Kitchen) การรับรองระบบคุณภาพมาตรฐานสากล ISO 9000 :1994 ตั้งแต่ปี 2542 ได้รักษาระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2000 ถึงปัจจุบัน และได้รับใบอนุญาตผลิตอาหาร ใบอนุญาตที่10-1-12349 เพื่อแสดงว่าเป็นผู้ได้รับอนุญาตให้ตั้งโรงงานผลิตอาหารเพื่อจำหน่ายตามมาตรา 14 แห่งพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522ให้ไว้ ณ วันที่ 21 กันยายน 2549
กรมการฝึกหัดครูพิจารณาแล้ว เห็นว่าการกำหนดให้มี อาคารอเนกประสงค์ขึ้นในวิทยาลัยครู โดยวัตถุประสงค์ ให้ใช้เป็นอาคารเรียนและอาคารศูนย์ฝึกปฏิบัติการวิชาชีพ ของนักศึกษาในสาขาวิชาต่างๆ เป็นสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม นอกจากนั้นยังกำหนดให้ใช้เป็นสถานที่แสดงและจำหน่าย ผลงานของนักศึกษา ตลอดจนเป็นสถานที่สำหรับการจัดให้ บริการด้านวิชาการและด้านอื่นๆ แก่ชุมชนตามความเหมาะสม
โครงการโรงสีข้าว (บริษัท โรงสีข้าว สวนดุสิต จำกัด) สำนักกิจการพิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ความเป็นมา โครงการโรงสีข้าว เริ่มต้นในการดำเนินกิจกรรม ตามนโยบาย ของมหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2542 โดยรองศาสตราจารย์ ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน อธิการบดี ในขณะนั้นทำการจัดหาที่ตั้งโครงการในจังหวัดที่เป็นที่ตั้งของศูนย์การศึกษาของมหาวิทยาวิทยาลัย ศึกษาระบบการผลิตข้าวสารที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพสูง และพัฒนาการบุคลากรเพื่อรับรองการดำเนินกิจกรรมของโครงการ
ปัญหา ระบบการศึกษาแบบทวิภาค ทำให้จัดภาคการศึกษาสหกิจศึกษาให้กระจายตลอดทั้งปีได้ยาก สถานประกอบการ จึงใช้ประโยชน์จากแรงงานนักศึกษาได้ไม่ต่อเนื่องเต็มที่ ค่าตอบแทน นักศึกษาสหกิจศึกษาเป็นเสมือนพนักงานชั่วคราว ของสถานประกอบการ แต่ส่วนน้อยได้รับค่าตอบแทน ตามที่สถานประกอบการกำหนด
ปัญหา การเกิดอุบัติเหตุของนักศึกษาระหว่างฝึกงาน ค่านิยมและวัฒนธรรมในองค์กรผู้ใช้บัญฑิตเกิดปัญหาการปรับตัวของ “นักศึกษา” การสร้างให้เกิดสร้างความตระหนักในการประกอบอาชีพ ให้ “นักศึกษา”