ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย นางวรวรรณ ชะโลธาร
Advertisements

การเคลื่อนที่.
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
สอบท้ายบท เรื่อง เวกเตอร์
การสร้างมุมโดยใช้ไม้โพรแทรกเตอร์
เรื่อง เวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
เรื่อง นาฬิกา นาฬิกาข้อมือ นาฬิกาแขวน นาฬิกาปลุก นาฬิกาจับเวลา
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
การขนส่งและการโคจรของดาวเทียม
ระบบสุริยะ (โลกและดวงอาทิตย์)
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
หันหน้าไปทางทิศเหนือ
เส้นสุริยวิถีเอียงทำมุมกับเส้นศูนย์สูตรฟ้า ทำให้เรามองเห็นดวงอาทิตย์ขึ้น - ตก ค่อนไปทางเหนือหรือใต้ในรอบปี
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ระบบอนุภาค.
ตรีโกณมิติ.
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เศษส่วน.
นวัตกรรมส่งเสริมสุขภาพ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
แผนการสอน หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
การประดิษฐ์นาฬิกาแดด
กลไกการปรับสมดุลโลก แผ่นที่ 1/6 พื้นสีเข้มดูดกลืน รังสีได้ดีกว่า.
เรื่อง การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า จัดทำโดย กลุ่ม 5
การอ่านแผนที่ดาว นักเรียนเคยอ่านแผนที่ดาวหรือไม่ การอ่านแผนที่ดาวแตกต่างจากการอ่านแผนที่อื่น ๆ เพราะจะต้องนอนหงายหรือเงยหน้าอ่าน โดยยกแผนที่ดาวขึ้นสูงเหนือศีรษะ.
ปรากฏการณ์ข้างขึ้น-ข้างแรม (Lunar's Phases)
รายงาน เรื่อง โลกดาวเคราะห์บ้านของเรา (ตำแหน่งบนโลก) เสนอ
ระบบการสื่อสารดาวเทียม
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
การคำนวณค่าไฟฟ้า.
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
กาแล็กซีและเอกภพ.
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
เมื่อแกนโลกเอียงจากเดิม 23
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
การสอบแข่งขันทักษะคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา (รอบที่ 1 คิดเลขเร็ว)
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ดวงจันทร์ (Moon).
ดาวพุธ (Mercury).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
แบบทดสอบชุดที่ 1 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
โจฮานเนส เคปเลอร์ (Johannes Kepler) กฏข้อที่ 1: ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี โดยมี ดวงอาทิตย์อยู่ที่โฟกัสจุดหนึ่ง กฏข้อที่ 2: เส้นตรงที่โยงระหว่างดาวเคราะห์กับดวงอาทิตย์
โรงเรียน เซนต์หลุยส์ศึกษา
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ระบบสุริยะ จักรวาล.
โลกและสัณฐานของโลก.
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา 06. 00 น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18 ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา 06.00 น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18.00 น. ใช้เวลา 12 ชั่วโมง คิดเป็นมุมได้ 180 องศา ดังนั้น 1 ชั่วโมง ดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ = 180 / 12 = 15 องศา เพราะฉะนั้นในเวลา 09.00 น. ดวงอาทิตย์จะอยู่สูงจากขอบฟ้าด้านทิศตะวันออก = (9 – 6) x 15 = 45 องศา

เรามองเห็นกลุ่มดาวนายพรานอยู่เหนือศรีษะ เวลา 21. 00 น เรามองเห็นกลุ่มดาวนายพรานอยู่เหนือศรีษะ เวลา 21.00 น. อยากทราบว่ากลุ่มดาวนายพรานจะตกเวลาเท่าไร ใน 1 ชั่วโมง ดาวบนเส้นศูนย์สูตรฟ้าเคลื่อนที่ไปทางตะวันตก เป็นมุม = 180 / 12 = 15 องศา จุดเหนือศีรษะ ทำมุมกับ ขอบฟ้าด้านทิศตะวันตก = 90 องศา ดังนั้นกลุ่มดาวนายพรานจะเคลื่อนไปอยู่ที่ขอบฟ้าด้านทิศตะวันตก ใช้เวลา = 90/15 = 6 ชั่วโมง เพราะฉะนั้นกลุ่มดาวนายพรานจะตกเวลา = 21.00 + 6.00 (– 24.00) ชั่วโมง = 03.00 นาฬิกา ของวันรุ่งขึ้น

เรามองเห็นดวงอาทิตย์อยู่สูงเหนือขอบฟ้าด้านทิศตะวันตก เป็นระยะสูง 4 เท่า ของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง อยากทราบว่า ดวงอาทิตย์จะสัมผัสขอบฟ้าภายในเวลากี่นาที ขนาดเชิงมุมของเส้นผ่านศูนย์กลางดวงอาทิตย์ = 0.5 องศา ดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ไป 4 เท่าของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง = 4 x 0.5 = 2 องศา 1 ชั่วโมง ดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ = 180 / 12 = 15 องศา ดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ 1 องศา ใช้เวลา = 60/15 = 4 นาที ดังนั้นย่อมใช้เวลา = 2 x 4 = 8 นาที กว่าดวงอาทิตย์จะสัมผัสขอบฟ้า

โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ทำให้เรามองเห็นตำแหน่งของกลุ่มดาวเปลี่ยนไป โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ใช้เวลา 1 ปี หรือ 365 วัน 1 ปี ตำแหน่งของดาวเปลี่ยนแปลง 360 องศา (มุมที่ทำกับขั้วฟ้า) 1 วัน ตำแหน่งของดาวเปลี่ยนแปลง 360 / 365 = 1 องศา นั่นหมายความว่า ดาวขึ้นเร็วขึ้นวันละ 1 องศา

วันที่ 1 ม. ค. กลุ่มดาวนายพรานขึ้นเวลา 18. 30 น วันที่ 1 ม.ค. กลุ่มดาวนายพรานขึ้นเวลา 18.30 น. อยากทราบว่า ในเวลาเดียวกัน ของวันที่ 1 ก.พ. ตำแหน่งของกลุ่มดาวนายพรานจะสูงเหนือขอบฟ้ากี่องศา 1 วัน ตำแหน่งของดาวเปลี่ยนแปลง = 360 / 365 ประมาณ 1 องศา 31 วัน ตำแหน่งของดาวเปลี่ยนแปลง = 1 x 31 = 31 องศา เพราะฉะนั้นในวันที่ 1 ก.พ. เวลา 18.30 น. กลุ่มดาวนายพรานจะสูงเหนือขอบฟ้าด้านทิศตะวันออก 31 องศา ณ เวลาเดิมของแต่ละวัน ตำแหน่งของกลุ่มดาวเปลี่ยนไป เนื่องจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์