ขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์ เป็นการศึกษาหาความรู้ในทุกเรื่องที่จำเป็นต้องใช้ในการบริหารงานภาครัฐ เพื่อประโยชน์สูงสุดที่จะเกิดก็ประชาชนและรัฐ
ขอบข่ายการศึกษา มี 3 แนวทางการศึกษา 1 Cross-Sectional Approach 2 Historical Approach 3 Legal Approach
Cross-Sectional Approach มองว่ารัฐประศาสนศาสตร์ความสนใจเรื่อง “องค์การสาธารณะ (Public Agency)” จึงต้องเข้าใจจุดมุ่งหมายและหน้าที่ขององค์การสาธารณะซึ่งคือ ผลประโยชน์สาธารณะ
Historical Approach ซึ่งจะเป็นการมองตั้งแต่ยุคเริ่มต้นที่ให้ความสำคัญกับการศึกษาที่มาของรัฐ หน้าที่ของรัฐ (Roles or the State) ดูการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเพื่อหาแนวทางปฏิบัติ
Legal Approach มองว่ารัฐเป็นเรื่องของความขัดแย้ง กล่าวคือกลุ่มคนที่มารวมตัวกัน จึงถือได้ว่ารัฐประศาสนศาสตร์เป็นความรู้ที่เกี่ยวกับการใช้อำนาจในจัดการของรัฐ
แนวคิดที่มีผลกระทบต่อรัฐประศาสนศาสตร์ในปัจจุบัน กระแสโลกาภิวัฒน์ แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์(Neo-classic Economics) แนวคิดการจัดการนิยม(Mangerialism) แนวคิดทางรัฐศาสตร์--->ประชารัฐ(participatory) แนวคิดทางกฎหมายการปกครอง (Rule of Law)
จบแล้วหละ