โครงการพัฒนาดัชนีการเกษียณอายุข้าราชการและพนักงานของรัฐ: รายงานเบื้องต้น โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์ ศูนย์จริยธรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
เศรษฐศาสตร์แรงงาน ศ. 471 สหภาพแรงงาน
เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยกรรมสิทธิ์ (๑)
ความเดิมจากตอนที่แล้ว
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
Research Problem ปัญหาการวิจัย
งานพนักงานราชการและลูกจ้าง
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลมติคณะรัฐมนตรี
เอชไอวีควบคุมได้ เอดส์รักษาได้ เราอยู่ด้วยกันได้
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
การศึกษารายกรณี.
การบริหารความเสี่ยง และการวางระบบควบคุมภายใน
โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการข่าวสาร ในสถานการณ์วิกฤติ ฉุกเฉิน และเร่งด่วน โดยกลุ่ม...โบ X 2.
ฐานข้อมูลปูชนีย์วลัยลักษณ์ ปูชนียาจารย์
ผศ.ดร. วนาวัลย์ ดาตี้ ผู้ช่วยอธิการบดี
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดทำแผนบริหารและพัฒนากำลังคน: Workforce Planning and Development Worksheet ดร.สุรพงษ์ มาลี ศูนย์บริหารกำลังคนภาครัฐ สำนักพัฒนาระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทน.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
การบำรุงรักษาทรัพยากรมนุษย์
การพัฒนาระบบการออมเพื่อเกษียณอายุ
โดย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ค่าใช้จ่ายในการจ้างเอกชนดำเนินงาน
ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลและขอบเขตข้อมูล
การค้ามนุษย์.
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
แนวทางการบริหารตำแหน่ง. สาธารณสุขอำเภอ และผู้อำนวยการ รพ. สต
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ เรื่อง หลักเกณฑ์การจ่ายค่าทดแทนการขาดรายได้ กรณีทุพพลภาพอันมิใช่เนื่องจากการทำงาน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 13.
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
แนวทาง/เครื่องมือในการคาดการณ์ความต้องการและอุปทานกำลังคน
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การพิจารณาเงินเดือนข้าราชการ ค่าจ้างลูกจ้างประจำ ประจำปี
งาน 1 : สรุป และนำเสนอ. 1. สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ. 2
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
การแก้ไขปัญหาในงานสหกิจศึกษา
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
คณะกรรมการพัฒนายุทธศาสตร์ บริหารงานของ มหาวิทยาลัยราชภัฏตามแนว ทางการปฏิรูประบบราชการ.
แผนคำของบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
นางสาววิไลวรรณ แซ่เตีย รองประธานคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย
การจ่ายค่าตอบแทนให้กับพนักงานขาย
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
การจัดการงานบุคคลของสหกรณ์ออมทรัพย์
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
ปัญหาวัยรุ่นตั้งครรภ์ไม่พร้อม
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
สรุปสาระสำคัญของการจ้างคณาจารย์ ประจำที่อายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ (ตามประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจ้างคณาจารย์ประจำที่มีอายุครบ.
คำชี้แจงกระทรวงแรงงาน เรื่อง พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 12 กันยายน 2554.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนาดัชนีการเกษียณอายุข้าราชการและพนักงานของรัฐ: รายงานเบื้องต้น โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์ ศูนย์จริยธรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หลักการและเหตุผล สังคมไทยกำลังเข้าสู่การเป็น “สังคมผู้สูงวัย” จำนวนผู้สูงอายุที่มากขึ้น ทำให้ “อัตราการพึ่งพิง” (dependency ratio) เพิ่มสูงขึ้น ดังนั้น เพื่อเป็นการรองรับสภาพที่กำลังเกิดขึ้น จึงควรมีการศึกษาเกี่ยวกับดัชนีการเกษียณอายุ นอกจากนี้ ผู้สูงวัยในปัจจุบันยังสามารถทำงานได้ล่วงเลยอายุที่เคยกำหนดให้เป็นอายุเกษียณแต่เดิม

การศึกษาในรอบสองเดือน โครงการได้ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับการพัฒนาดัชนีการเกษียณอายุจากแหล่งต่างๆ กำลังจัดเตรียมการประชุมเพื่อระดมความคิดเห็น และนำเสนอผลการศึกษาเพื่อขอความแนะนำ ฯลฯ เพื่อสรุปเป็นแนวนโยบายและผลการศึกษา ในเดือนธันวาคมนี้

รายงานของ Cato Institute ในปี ค.ศ. 2004 วุฒิสภาของสหรัฐฯได้มอบหมายให้สถาบัน Cato ทำการศึกษาเกี่ยวกับการกำหนดอายุเกษียณตายตัว (mandatory retirement age) ผลการศึกษาพบว่า รัฐบาลควรค่อยยกเลิกการกำหนดอายุเกษียณดังกล่าว และให้การว่าจ้างข้าราชการเป็นไปตามสัญญาจ้าง

หากข้าราชการยังสามารถทำงานได้มีประสิทธิภาพดี ก็ควรจะจ้างต่อไป แต่ก็มีมาตรการสร้างแรงจูงใจเพื่อให้ข้าราชการสามารถเลือกตัดสินใจได้เองว่า เมื่อใดควรจะเกษียณอายุตนเอง

การบังคับอายุเกษียณ ในอดีตการกำหนดอายุเกษียณตายตัวมีความจำเป็น เนื่องจากพัฒนาการทางสาธารณสุขยังไม่ดีเพียงพอ ทำให้คนอายุตั้งแต่หกสิบปีขึ้นไป ไม่สามารถทำงานของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกต่อไป แต่ปัจจุบันไม่เป็นอย่างนั้นอีกแล้ว นอกจากนี้ ปัจจุบันก็ยังมีเครื่องมือช่วยเหลือต่างๆ เช่นเทคโนโลยี ฯลฯ ที่ทำให้พนักงานสามารถทำงานได้อย่างดี แม้อายุจะมากขึ้น

นอกจากนี้ การที่เด็กเกิดใหม่น้อยลง ก็ทำให้การหาบุคลากรมาทดแทนผู้ที่เกษียณอายุออกไปทำได้ยากขึ้น ในสหรัฐฯมีกฎหมายห้ามการเลือกปฏิบัติด้วยอายุ (Anti-age Discrimination) ซึ่งหมายความว่า ห้ามมิให้นายจ้างเลิกการจ้าง หรือไม่รับพนักงานเข้าทำงาน ด้วยเหตุเรื่องอายุเท่านั้น กฎหมายนี้ทำให้การกำหนดอายุเกษียณตายตัวไม่จำเป็นนัก เพราะบริษัทจำเป็นต้องมี package เพื่อจูงใจให้พนักงานเกษียณอายุ

ข้อควรระวัง อย่างไรก็ตาม รายงานนี้ก็ได้เตือนไว้ว่า การยกเลิกการกำหนดอายุเกษียณตายตัวไปเลยในทันที อาจก่อให้เกิดผลเสีย ตัวอย่างได้แก่มหาวิทยาลัยต่างๆในสหรัฐฯ ที่ได้ยกเลิกอายุเกษียณไปในทันที ทำให้คณาจารย์อยู่กันจนอายุมากๆ เกิดปัญหาแรงงานไม่หมุนเวียน และตลาดแรงงานอาจารย์หดตัวลงอย่างมาก สิ่งสำคัญก็คือ ในสายตาของผู้รายงาน อาจารย์มหาวิยาลัยไม่มีการประเมินผลงาน ทำให้อยู่ไปได้เรื่อยๆโดยไม่จำเป็นต้องทำอะไรมาก ซึ่งทำให้เกิดผลเสียแก่หน่วยงานโดยรวม

ข้อเสนอ ผู้รายงานได้เสนอว่า ควรค่อยๆยกเลิกการกำหนดอายุเกษียณเป็นระยะๆ แทนที่จะยกเลิกไปเลย และมีมาตรการทดแทนที่เหมาะสม ได้แก่ package เกี่ยวกับการจูงใจให้เกษียณตนเอง

ทางเลือกสำหรับประเทศไทย ในอนาคต ประเทศไทยอาจตัดสินใจยกเลิกการกำหนดอายุเกษียณตายตัว โดยอาจค่อยๆทำไปเช่นเดียวกับที่รายงานนี้เสนอ ก่อนถึงเวลานั้น ก็อาจมีการกำหนดดัชนีการเกษียณอายุ โดยพิจารณาถึงลักษณะของสาขาอาชีพต่างๆของข้าราชการและพนักงานของรัฐ ซึ่งโครงการนี้จะพัฒนาต่อไป