สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

กาจัดการข้อมูลพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
เทคโนโลยีฐานข้อมูลสำนักงาน
การออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Conceptual
เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูล
E-R Model บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต.
การสร้างคำถาม.
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล.
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
ภาษา SQL (Structured Query Language)
Object-Oriented Analysis and Design
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
บทที่ 6 สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต
การออกแบบระบบและประยุกต์ใช้ฐานข้อมูล
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
Chapter 2 Database systems Architecture
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 4 แบบจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
ความปลอดภัยของฐานข้อมูล
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
แบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล
System Integration.
บทที่ 8 File Management. ประเด็นที่ต้องพิจารณา ถ้าต้องการเก็บข้อมูลจะเก็บข้อมูลไว้ที่ไหน สามารถเก็บข้อมูลตรงไปยัง media โดยไม่ต้อง จัดรูปแบบการเก็บได้หรือไม่
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
การออกแบบระบบฐานข้อมูล
System Analysis and Design
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
เรื่องการออกแบบฐานข้อมูล
เริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Microsoft Access
Geographic Information System
1. การศึกษาและการวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้
ระบบฐานข้อมูล (Database Management System)
1. รายการเปลี่ยนแปลง (Transaction)
1. ศัพท์พื้นฐานของฐานข้อมูล
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
A Comparison on Quick and Bubble sort on large scale data
การจัดการฐานข้อมูล.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
Object Oriented Programming : OOP
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ระบบฐานข้อมูล.
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
Introduction to Database
ฟิสิกส์คืออะไร ฟิสิกส์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรมธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต สสาร พลังงาน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ รวมไปถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดตามธรรมชาติต่างๆ.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล บทที่ 3 สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล

เค้าร่างของฐานข้อมูล เค้าร่างของฐานข้อมูล  ในการออกแบบฐานข้อมูลใด จะต้องระบุถึงเอนทิตี้ชื่ออะไรบ้าง และในแต่ละ เอนทิตี้ประกอบด้วยแอทริบิวต์อะไร รวมถึงความสัมพันธ์ของข้อมูลใน เอนทิตี้ ที่มีอยู่ว่ามีความสัมพันธ์ในลักษณะใด รายละเอียดของโครงสร้าง ของฐานข้อมูลนี้เรียกว่า เค้าร่างของ ฐานข้อมูล ( Database Schema ) โดยทั่วไปเค้าร่างของฐานข้อมูลมักจะ ไม่เปลี่ยนแปลงบ่อยนัก แต่อาจมีการเปลี่ยนแปลงบ้างในบางครั้ง ถ้าการเปลี่ยนแปลง ทำให้ฐานข้อมูลเหมาะสมมากยิ่งขึ้น ข้อมูลจะถูกบันทึกลงในฐานข้อมูลในขณะใด ขณะหนึ่ง เรียกว่า อินสแตนซ์ กล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ เมื่อกำหนดเค้าร่างของฐานข้อมูล จะยังไม่มีข้อมูลอยู่คือ อินสแตนซ์ว่าง จนกว่าจะมีการบันทึกข้อมูลลง

สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมข้อมูลมี 3 ระดับ ระดับภายนอก สถาปัตยกรรม  สถาปัตยกรรมข้อมูลมี 3 ระดับ ระดับภายนอก ระดับภายนอกหรือวิว  เป็นระดับของข้อมูลที่ประกอบด้วยภาพที่ผู้ใช้แต่ละคนมองข้อมูล  (  View  )  เค้าร่างของฐานข้อมูลระดับนี้จะเกิดภาพและความต้องการของข้อมูลของผู้ใช้

สถาปัตยกรรม ระดับแนวคิด ประกอบด้วยเค้าร่างที่อธิบายถึงฐานข้อมูลรวมว่ามีเอนทิตี้     โครงสร้าง ของข้อมูล     ความสัมพันธ์ขข้อมูล  กฎเกณฑ์และข้อจำกัดต่าง ๆ อย่างไร บ้าง   ข้อมูลในระดับนี้เป็นข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์   และออกแบบฐานข้อมูล ต่าง ๆ ในระดับภายนอกสามารถเรียกใช้ข้อมูลได้  ซึ่งผู้ใช้ทั่วไปในระดับ ภายนอก  อาจจะต้องการใช้ข้อมูลที่แตกต่างกัน 

สถาปัตยกรรม 3. ระดับภายใน ประกอบด้วยเค้าร่างที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บข้อมูลจริง ๆ ว่ามีโครงสร้างการจัดเก็บ รูปแบบใด รวมถึงวิธีการเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ ในฐานข้อมูลเพื่อดึงข้อมูลที่ ต้องการ เช่น การอินเด็กซ์ เป็นต้น ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลระดับต่าง ๆ จะถูก จัดการโดยระบบการจัดการฐานข้อมูล ซึ่งเป็นการแปลความหมายของข้อมูลจากระดับ หนึ่งไปยังอีกระดับหนึ่งนี้เรียกว่า การแปลส่ง

สถาปัตยกรรม ระดับของข้อมูลแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ดังนั้นข้อมูลดังกล่าวจะประกอบด้วยเค้าร่าง 3 ประเภท คือ 1. เค้าร่างภายใน ( Internal Schema ) เป็นเค้าร่างที่แสดงรายละเอียดถึงลักษณะการจัดเก็บโครงสร้างของฐานข้อมูลจริง ๆ 2. เค้าร่างแนวคิด ( Conceptual Schema ) เค้าร่างแนวคิดเป็นเค้าร่างที่แสดงรายละเอียดของฐานข้อมูลทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นชื่อของเอนทิตี้ โครงสร้างของฐานข้อมูล ความสัมพันธ์ และข้อจำกัดต่าง ๆ 3. เค้าร่างภายนอก ( External Schema หรือ Subschema หรือ View ) เค้าร่างภายนอกเป็นเค้าร่างในระดับภายนอกที่แสดงถึงรายละเอียดของข้อมูลที่ผู้ใช้ต่าง ๆ ต้องการ

สถาปัตยกรรม การแบ่งระดับของข้อมูลรวมถึงการเชื่อมโยงของข้อมูล ล้วนแต่เป็นจุดเด่น ของฐานข้อมูล ในด้านความเป็นอิสระของข้อมูล ซึ่งแบ่งออกได้ เป็น 2 ประเภท คือ 1. ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ 2. ความเป็นอิสระในเชิงกายภาพ

ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ    เป็นความอิสระของข้อมูลในระดับแนวคิด   (Conceptual  )     กับระดับภายนอก  (  External  Level  )  นั่นเอง   หากมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวคิด   จะไม่มีผลต่อเค้าร่างในระดับภายนอก  หรือโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน  หรือจะเป็นการปรับโครงสร้าง

ความเป็นอิสระในเชิงกายภาพ 2. ความเป็นอิสระในเชิงกายภาพ เป็นความเป็นอิสระของข้อมูล ภายใน ( Internal Level ) กับระดับแนวคิด ( Conceptual Level ) หรือ ระดับภายนอก ( External Level ) เช่นการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียกดู ข้อมูลให้เร็วขึ้น โดยการปรับปรุงเค้าร่างภายใน โดยไม่กระทบถึงเค้าร่าง แนวคิด หรือเค้าร่างภายนอก

ใบงานบทที่ 2 1. ฐานข้อมูลคือ 2. สถาปัตยกรรมแบ่งออกเป็นกี่ประเภท ใบงานบทที่ 2 1. ฐานข้อมูลคือ 2. สถาปัตยกรรมแบ่งออกเป็นกี่ประเภท ระดับของข้อมูลในสถาปัตยกรรมแบ่งเป็นกี่ระดับ

จบการนำเสนอ