ผักกาดดองจ๊า.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
น้ำพริก 4 ภาค จัดทำโดย เด็กชายปฏิพัทธ์ ผงผัน เลขที่ 19
Advertisements

การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
ขนมเทียน โดย นางเทวี โพธิ์ไพจิตร ครูชำนาญการพิเศษ.
การทำขนมโค สมาชิกในกลุ่ม นายอุดมศักดิ์ โยมา นายราเมศ บุษบา
สาระเทคการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่วงชั้นที่ ๑
เม็ดขนุนเชื่อม.
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
ผ้าเช็ดหน้าจากสีธรรมชาติ
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
การถนอมอาหาร.
โครงงานอาหารจีนหรรษา
ชื่อโครงงาน ค่า R.O.ในน้ำ
หลักปฏิบัติ ๔ ประการ ในการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี
ด.ช.สกลพัตร พันธุ์บุญปลูก ม.2/8 เลขที่10 ปีการศึกษา 2548
เด็กหญิงณัฐณิชา ด้วงคำวิชัย เลขที่ 24 โรงเรียนอนุบาลเมืองลำพูน
ผงชูรสแท้หรือปลอม.
โดย: ด.ช.นพวิทย์ วงษ์เจริญ ด.ญ.ลักษิกา บูรณศักดิ์ศรี
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
ขนมไทย จัดทำโดย ด. ช. กลวํชร เชื้อเกตุ ด. ช. ณัฐชนน กำจาย เสนอ อ
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
เรื่อง น้ำยาไล่แมลงวัน
ขนมต้มใบกระพ้อ.
การทำน้ำหมักสมุนไพรขับไล่แมลงในสวนผัก
เมนูภัตตาหารพระนานาชาติ (Veg. & Non veg.)
ขั้นตอนวิธี และผังงานแบบต่าง ๆ.
เครื่องปั่นน้ำผลไม้.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
ข้าวกล้องงอก ข้าวกล้องหอมมะลิงอก ข้าวกล้องข้าวเหนียวดำ
สูตรดองไข่เค็มแบบเร่งรัด
วัสดุอุปกรณ์ ๑. เปลือกไข่ไก่, ไข่เป็ด จำนวน ๑๕ - ๒๐ ฟอง
เคล็ดลับ.....ถนอมเห็ดฟางให้กินได้นาน
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
และความเป็นกรด-ด่างของดิน
เทคนิคและวิธีการปลูกผัก
ข้าวแต๋น.
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
แผนผังความคิดรวบยอด เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ และตัวอย่างผังงาน
น้ำมะขาม น้ำกระเจี๊ยบแดง
กายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบเนื้อเยื่อชั้นผิวใบของพืชวงศ์ไม้ยาง(Dipterocarpacea) บางชนิดในประเทศไทย.
เด็กชายสุภาณัต ทองแท้ เลขที่ 16 เด็กหญิงพฤษกรณ์ สิงมี เลขที่ 33 เด็กหญิงอรปรีญา หอมอุบล เลขที่ ๔๐ เสนอ อาจารย์ จริญญา ม่วงจีน.
อุปกรณ์และขั้นตอนการทำขนมจีนสมุนไพร
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
1.สารลดแรงตึงผิว 2.ฟอสเฟต 3.ซิลิเกต 4.โซเดียมคาร์บอคซีเมทิลเซลลูโลส
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
จัดทำโดย สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
ส่วนผสมหน้าเค้ก นมเย็น
หลักการเลือกซื้ออาหาร
โดย ด.ช.กฤษณรักษ์ ปิ่นตา ม.1/4 เลขที่ 16
เรื่อง ข้าวเม่าทอด กลุ่มที่ 20 นางสาวรุจิรา เดชแฟง เลขที่ 22
1. นาย สุทธิเกียรติ์ เดชแฟง ม.5/3 เลขที่ 4
เรื่อง วุ้นสายรุ้ง จัดทำโดย นางสาว ผการัตน์ มาคง เลขที่ 12
เรื่อง น้ำสมุนไพร.
ประโยชน์ที่ได้รับจากการรับประทาน ประเทศที่นิยมรับประทาน
อาหารต้านมะเร็ง เพื่อการป้องกัน อาหารต้านมะเร็ง 5 ประการ
วิธีการประหยัดพลังงาน
องค์ความรู้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์การทอเสื่อกก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มทอเสื่อกกบ้านนาหมอม้า ผู้ให้องค์ความรู้ นางนิ่ม นวลขาว ที่อยู่ 961 หมู่ 7.
น้ำสนุมไพร ถัดไป.
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
วุ้นมะพร้าว หรือ วุ้นสวรรค์
การทำยางก้อนถ้วย.
ด.ช. อเนชา จันทคง เลขที่ 20 ชั้น 2/6.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผักกาดดองจ๊า

คณะผู้จัดทำ นางสาว กรภัทร ประยูรมณีรัตน์ ชั้น ม.๔/๔ เลขที่ ๑๔ นางสาว กรภัทร ประยูรมณีรัตน์ ชั้น ม.๔/๔ เลขที่ ๑๔ นางสาว ปาลิตา เพ็ชรศิริ ชั้น ม.๔/๔ เลขที่ ๒๔ นางสาว สรัญญา เกมะยุรา ชั้น ม.๔/๔ เลขที่ ๒๕ โรงเรียน ดัดดรุณี

ส่วนประกอบ 1.ผักกาดเขียว 2.เกลือ 1/2 ของถ้วย 3.ข้าวสาร 1/2 ของถัวย 4.น้ำเปล่าสำหรับต้ม อุปกรณ์ 1.ภาชนะสำหรับดอง 2.หม้อต้มน้ำ 3.ตะกร้าแบน

กรรมวิธีการทำ 1. ล้างผักให้สะอาด แล้วผึ่งให้สะเด็ดน้ำก่อน มีแดดก็ตากแดดไว้ ๑ วัน หรือผึ่งลมเอาก็ได้ให้ผักสลด 2. หลังตากผักกาดจนสลดแล้วก็เตรียมต้มน้ำเดือด ใส่ข้าวสารต้มไฟกลางจนข้าวเปื่อยใส ราว 30 นาที

3.พอเดือดยกลงตั้งไว้พออุ่น 4.ม้วนผักกาดเป็นก้อนกลมๆแล้วใส่ไว้ในภาชนะสำหรับดองพร้อมกับโรยเกลือ 5. เท น้ำข้าวที่ตั้งไว้จนเย็นใส่ลงไปจนพอท่วมผัก

6.กดให้ผักจมน้ำแล้วนำฝาภาชนะมาปิด 7.รอจนครบ 15 วันเป็นต้นไป จึงค่อยนำออกมาปรุงอาหาร นู๋ผักกาดเองค่ะ

***มาดูข้อมูลกันนิด*** ผักกาดเขียวปลี  หรือ  ผักโสภณ  ชื่อภาษาอังกฤษว่า  mustard green  เป็นผักในวงศ์ผักกาดกะหล่ำ (crucifer) เช่นเดียวกับผักกาดขาว  ผักกาดใบและผักกวางตุ้ง ผักกาดเขียวปลี  มีชื่อทางพฤกษศาสตร์ว่า  brassica var. rugosa   ชื่อสามัญภาษาอังกฤษเรียก leaf mustard หรือ Chinese mustard  green บางทีเรียก mustard  green เฉยๆ  ในภาษาพูด 

***สำคัญนะ*** ในกระบวนการดองที่ต้องมี การเปลี่ยนแปลงน้ำตาลในผักให้เป็นกรดแลคติกจะเป็นแบคทีเรียที่อยู่ใน family Lactobacteriaceae ซึ่งใน family นี้จะมีอยู่ 5 genus ได้แก่ Streptococcus Pediococcus Diplococcus Leuconostoc Lactobacillus

แบคทีเรียเหล่านี้เป็นแกรมบวก สร้างสปอร์ไม่ได้ ต้องการวิตามินบีรวมและกรดอะมิโนในการเจริญ ไม่สามารถเจริญได้ในสภาวะที่มีปริมาณกรดอะซิติกเข้มข้นเกินกว่า 3 - 6 % และหากต้องการให้แบคทีเรียในกลุ่มนี้ทำให้กระบวนการหมักได้รวดเร็วขึ้น สามารถทำได้โดยการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในระบบ สามารถแบ่งแบคทีเรียกลุ่มนี้ออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ 1. Homofermentative เป็น กลุ่มที่ใช้น้ำตาล 85 - 95 % ในการผลิต กรดแลคติกเพียงอย่างเดียว ส่วนที่เหลือจะนำไปสร้างพลังงาน และสารประกอบที่ระเหยได้ (volatile compound) ตัวอย่างแบคทีเรียในกลุ่มนี้ได้แก่ Streptococcus faecalis Pediococcus cerevisiae

2.Hermentative เป็นกลุ่มที่ใช้น้ำตาลประมาณ 50 % ในการผลิตกรดแลคติก อีก 25 % ใช้ในการผลิตกรดอะซิติกและเอธานอล ส่วนที่เหลือจะใช้ผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ตัวอย่างแบคทีเรียในกลุ่มนี้ได้แก่ Leuconostoc mesenteroides , Leuconostoc fermenti

ขอบคุณค่ะ