สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

ภาระงาน กระบวนการ แหล่งข้อมูล ประเมินผล สรุป
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
วิชายาและการใช้ยาสัตว์ (Animal Drugs and Usage) รหัสวิชา
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
H2O H2O H2O ความสำคัญของน้ำ H2O H2O.
สื่อการสอน เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ นายปราโมทย์ จินดางาม
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
ชมรม “อยู่ดีมีสุข” 16 พฤษภาคม 2550
ปัจจัยทีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
การเสื่อมเสียของอาหาร
แบบฝึกหัด.
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
การขับถ่ายของเสีย (Excretion)
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
ไขมัน (Lipids or Fat) ประโยชน์ :  ธาตุที่เป็นส่วนประกอบ :- C H O
Protein.
ชัยวัฒน์ เชื้อมั่ง เคมีไฟฟ้า.
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
ENZYME.
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
โมเลกุล เซลล์ และ ออร์กาเนลล์ (Molecules Cells and Organelles)
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
ความต้องการแร่ธาตุของโคนม
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกันคือ H3O+
ผู้สอน: อ.วิจิตต์ วรรณชิต
สารอาหารที่ถูกมองข้าม
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
ภาวะไตวาย.
สารประกอบ.
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
10 Tips For Good Health โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
ดร. บัณฑิตย์ เต็งเจริญกุล
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
พันธะเคมี.
การเจริญเติบโตของพืช
กำมะถัน (Sulfur).
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
ภาคต้น 2557 เรื่อง Lipids (ตอนที่ 2)
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
การรักษาสมดุลร่างกาย (Homeostasis)
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
ความกระด้างของน้ำ (water Hardness)
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
SELENIUM ซีลีเนียม.
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)

สารอนินทรีย์ (Inorganic substance) ได้แก่ น้ำ แร่ธาตุ และแก๊สออกซิเจน

สารประกอบในร่างกายคน

น้ำ (H2O) ประกอบด้วยธาตุ H และ O ยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะโควาเลนซ์ (Covalent bond)

สมบัติของน้ำ เป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง เกิดจากการยึดเหนี่ยวด้วยพันธะไฮโดรเจน (hydrogen bond) ระหว่างอะตอมของ O กับ H ของน้ำแต่ละโมเลกุล

โครงสร้างโมเลกุลของน้ำ พันธะไฮโดรเจน พันธะโควาเลนท์

สมบัติของน้ำ น้ำเป็นโมเลกุลมีขั้ว มีสมบัติเป็นตัวทำละลายที่ดี ทำให้สารอื่นอื่นที่มีสมบัติมีขั้วละลายน้ำได้ดี สารที่มีสมบัติการละลายน้ำ เรียก ไฮโดรฟิลิก (hydrophilic) สารที่มีสมบัติไม่ละลายน้ำ เรียกว่า ไฮโดรโฟบิก (hydrophobic)

สมบัติเป็นตัวทำละลาย

สมบัติของน้ำ สมบัติความเป็น กรด-เบส ของน้ำ น้ำแตกตัวให้ ไฮโดรเจนไอออน (H+) ซึ่งแสดงความเป็นกรด และไฮดรอกซิลไอออน (OH-) ซึ่งแสดงความเป็นเบส

แร่ธาตุ (minerals) แร่ธาตุแบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. แร่ธาตุหลัก (major / macro minerals) แร่ธาตุที่ร่างกายต้องการมากกว่า 100 มิลลิกรัมต่อวัน ได้แก่ Ca, P, Na, K, Cl, Mg และ S 2. แร่ธาตุรองหรือแร่ธาตุปลีกย่อย (minor / micro minerals) แร่ธาตุที่ร่างกายต้องการน้อยกว่า 100 มิลลิกรัมต่อวัน ได้แก่ Fe, Cu, Mn, I, Zn, F, Co, Mo, Se, Si และ Ni เป็นต้น

หน้าที่ของแร่ธาตุ เป็นส่วนประกอบของโครงสร้างร่างกายสัตว์ ในสัตว์ที่กำลังเจริญเติบโต แคลเซียมมีความจำเป็นในการสร้างกระดูก ในไก่แคลเซียมจำเป็นในการสร้างเปลือกไข่ เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาชีวเคมี โดยเป็นองค์ประกอบของน้ำย่อย เป็นองค์ประกอบของของเหลวในร่างกาย มีความจำเป็นต่อระบบการทำงานของประสาท เป็นส่วนประกอบของฮอร์โมนและวิตามิน รักษาสมดุลของน้ำในร่างกายและความเป็นกรดเป็นด่างในร่างกาย ควบคุมการหดตัวของกล้ามเนื้อ ช่วยในการแข็งตัวของเลือด

แร่ธาตุที่สำคัญ

แร่ธาตุที่สำคัญ

วิตามิน

วิตามิน

วิตามิน