อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
Advertisements

อารยธรรมลุ่มแม่น้ำฮวงโห
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำฮวงโห (อารยะธรรมจีน)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำฮวงโห
อักษรภาพอียิปต์โบราณ
บทที่ 7 ศาสนา Religion.
ซากดึกดำบรรพ์ .
การประกาศ พระราชกฤษฎีกา แห่งมิลาน พ.ศ 856 โดย ครูขณิฐภรณ์ พรหมปลูก
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
ดาวอังคาร (Mars).
ประเทศอาเซียน ประเทศพม่า.
ผลิตสินค้าและบริการ.
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มน้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยลุ่มธรรมแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำฮวงโห (อารยธรรมจีน)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำฮวงโห (อารยธรรมจีน)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
หลักการดำเนินชีวิตอย่างปลอดภัยโดย สัปปุริสธรรม 7
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
๓ อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์ กับความเชื่อเรื่องชีวิตหลังความตายของชาวอียิปต์
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำฮวงโห (อารยธรรมจีน)
ภูมิประเทศภูมิภาคต่างๆ ของทวีปเอเชีย
พัฒนาการของวัฒนธรรม สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
ตำแหน่งที่ตั้งของบ้านเมืองฟูนัน
จัดทำโดย ด.ช.ชนสรณ์ ศรีงาม เสนอ อ.ฐิตาพร ดวงเกตุ
โครงสร้างทางธรณีวิทยา
สมัยโคะฟุน.
ท่องเที่ยวจังหวัดสุพรรณบุรี โดย ด. ญ. สุดารัฐ เลิศทัศนว นิช.
จังหวัดราชบุรี จัดทำโดย
พลังชุมชน สู่สุขภาพดีในยุคประชาคมอาเซียน : บทบาทสถานศึกษา
สภาพทางสังคม และ วัฒนธรรม ของทวีปยุโรป
เรื่อง ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมการเมือง
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
สังคมศึกษา ศาสา และวัฒนธรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
ศาสนาในประเทศไทย.
จดหมายเหตุของภิกษุจีนชื่อ เหี้ยนจั๋ง หรือ พระถังซัมจั๋ง (Hieun Tsing) ซึ่งเดินทางจากเมืองจีนไปประเทศอินเดียทางบก ราว พ.ศ – 1188  และพระภิกษุจีนชื่อ.
ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วย เกาะต่าง ๆ ประมาณ 17,508 เกาะ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้
ครูจงกล กลางชล. ผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง 2 วิเคราะห์แนวคิดเกี่ยวกับ ความเป็นมาของชนชาติไทย โดย วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้
โรงเรียน เทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) วัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
รายวิชาประวัติศาสตร์ ส 22103
ประเภทของศาสนา ศาสนาเบื้องต้น อาจารย์ชัชวาลย์ ชิงชัย
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวัง ไกลกังวล ครูผู้สอน... นายธีระ พล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ ด้านสิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในประเทศไทย ( ๒ ) 1 หน่วยการเรียนรู้ที่
ประเทศ มาเลียเชีย ปรากฏความสัมพันธ์อย่างแน่นแฟ้นระหว่างหลายชนเผ่าพันธุ์และหลายวัฒนธรรมของประเทศ นอกจากชาวมาเลย์และกลุ่มชนพื้นเมืองแล้ว ยังมีผู้อพยพมาจากจีน.
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
ให้นักเรียนดูภาพแผนที่ต่อไปนี้ แล้วช่วยบอกด้วยว่าเป็นแผนที่ชนิดใด
ครูจงกล กลางชล 1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รู้และเข้าใจเกี่ยวกับ สภาพแวดล้อมทางสังคม และวัฒนธรรม 2.
 1. นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าตาม ประเด็นต่อไปนี้ 1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของ โลก 1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจาก อดีตถึงปัจจุบันจริงหรือ.
  1. นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าตามประเด็น ต่อไปนี้  1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก  1.3. สิ่งใดที่บ่งบอกความเจริญของอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
1. นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้า ตามประเด็นต่อไปนี้ 1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใด ของโลก 1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญ จากอดีตถึงปัจจุบันจริงหรือ.
จัดทำโดย เด็กชาย ชนายุทธ มหายศ ชั้น ม.1/4 เลขที่ 6 เสนอ คุณครูอรอุมา พงค์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
1.
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ

คำชี้แจง 1.นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าตามประเด็นต่อไปนี้ 1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก 1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจากอดีตถึงปัจจุบันจริงหรือ 1.3. สิ่งใดที่บ่งบอกความเจริญของอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ 1.4 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีอิทธิพลต่อสังคมไทยเราอย่างไร 2. ให้นักเรียนศึกษา อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ 1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ 2 หรือเว็บไซต์อื่นๆ แล้วตอบคำถามตามประเด็นโดยให้ทำใส่ power point หรือ ทำเป็นคลิปVDO ส่งตรง add reply ส่งภายใน 25 ธันวาคม 2556

1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ เป็นอารยธรรมในยุคสำริด (ประมาณ 2500 - 1900 ก่อนคริสตกาล) ถือกำเนิดขึ้นบริเวณลุ่มแม่น้ำสินธุในประเทศอินเดียและปากีสถานในปัจจุบัน ถือเป็นอารยธรรมยุคแรกๆของโลก ซึ่งนักโบราณคดีเรียกว่ายุคฮารัปปัน วัฒนธรรมเก่าสุดเริ่มจาก เมืองอัมรี (Amri) บริเวณปากแม่น้ำสินธุ อายุ 4,000 B.C. พบเครื่องปั้นดินเผาระบายสี คล้ายของเมโสโปเตเมีย เมืองฮารับปา และโมเหนโจ –ดาโร อายุ 2,600 – 1,900 B.C. เมืองชุคาร์ และจันหุดาโร อายุ 1,000 – 500 B.C.

1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจากอดีตถึงปัจจุบันจริงหรือ จริง เพราะ พัฒนาการทางความคิดที่สำคัญในอารยธรรมอินเดียเริ่มจากการนับถือเทพเจ้าหลายองค์โดยการสวดสรรเสริญและอ้อนวอนเทพเจ้าและพัฒนาการความคิดจากคัมภีร์พระเวทนั้นมีหลายระดับ คือ เริ่มแรกเป็นความคิดความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าแบบ “พหุเทวนิยม” (Polytheism) นั่นคือการนับถือเทพเจ้าหลายองค์ ต่อมาได้พัฒนามาเป็นการยกย่องและให้การนับถือเทพเจ้าสูงสุดเพียงองค์เดียว เรียกว่า “เอกเทวนิยม” (Monotheism)

1.3. สิ่งใดที่บ่งบอกความเจริญของอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ เป็นศูนย์กลางวัฒนธรรมแห่งนี้ พบว่ามีความเจริญอย่างยิ่งในด้านการวางผังเมือง เพราะมีการวางผังเมืองอย่างเป็นระบบระเบียบ มีระบบท่อระบายน้ำ มีสระขนาดใหญ่ภายใต้ตึก 3 ชั้น ยุ้งฉางสำหรับเก็บผลผลิตทางการเกษตร และมีหลักฐานการติดต่อค้าขายกับดินแดนเมโสโปเตเมีย

1.4 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีอิทธิพลต่อสังคมไทยเราอย่างไร 1.4 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีอิทธิพลต่อสังคมไทยเราอย่างไร อินเดียเป็นอารยธรรมของคนในแถบเอเชียใต้และมีอิทธิพลต่ออารยธรรมอื่นๆ โดยเฉพาะอารยธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียตะวันออก อารยธรรมอินเดียโบราณหรืออารยธรรมลุ่มแม้น้ำสินธุ จัดเป็นอารยธรรมที่ยิ่งใหญ่แห่งหนึ่งของโลก ดินแดนบริเวณนี้ประมาณ 3,000-2,500 ปีก่อนคริสตกาล จัดเป็นแหล่งอารยธรรมเมืองแห่งหนึ่งของโลกยุคโบราณ จากการขุดค้นพบ “เมืองโมเฮนโจดาโร (Mohenjo-daro) และเมืองฮารัปปา (Harappa) ซึ่งเป็นศูนย์กลางวัฒนธรรมแห่งนี้ พบว่ามีความเจริญอย่างยิ่งในด้านการวางผังเมือง เพราะมีการวางผังเมืองอย่างเป็นระบบระเบียบ มีระบบท่อระบายน้ำ มีสระขนาดใหญ่ภายใต้ตึก 3 ชั้น ยุ้งฉางสำหรับเก็บผลผลิตทางการเกษตร และมีหลักฐานการติดต่อค้าขายกับดินแดนเมโสโปเตเมีย

นางสาวณัฐสุดา เขตหนองบัว นางสาวณัฐสุดา เขตหนองบัว เลขที่ 22 ชั้น ม.5/1