กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภาระงาน กระบวนการ แหล่งข้อมูล ประเมินผล สรุป
Advertisements

สารชีวโมเลกุล : โปรตีน
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ งานนำเสนอ
Chromosome ชีววิทยา ม. 4.
กลไกการวิวัฒนาการ.
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ของส่วนประกอบของเซลล์
พันธุกรรมของแบคทีเรีย 2
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
ความหลากหลายทางชีวภาพของพืช
โครโมโซม.
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
สิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้มีรูปร่าง และโครงสร้างที่แตกต่างกัน
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
The Genetic Basis of Evolution
ดีเอ็นเอ และวิทยาศาสตร์พันธุกรรม
Translation.
Transcription.
โพรโทซัว( Protozoa ).
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Mr. POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
Sarote Boonseng Nucleic acids.
Gene and Chromosome UMAPORN.
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
บทที่ 1 Introduction.
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
7.Cellular Reproduction
whey เวย์ : casein เคซีน
DNA สำคัญอย่างไร.
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
ทดสอบความรู้วิชาชีวเคมี เรื่อง
สารประกอบ.
Properties and Classification
ดีเอ็นเอและเทคโนโลยีชีวภาพ
การเกิดมิวเทชัน (mutation).
พันธุศาสตร์เบื้องต้น (Principle of genetics)
ครูเอื้อมพร เอี่ยมแพร
เสนอ อ.สุพิน ดิษฐสกุล.
การกลายพันธุ์ (MUTATION)
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
RNA (Ribonuclei c acid). RNA มี 3 ชนิด คือ 1.Ribosomal RNA (rRNA) ไร โบโซมอล อาร์เอ็นเอ ทำหน้าที่เป็นองค์ประกอบหลัก ของ ribosome 2.Transfer RNA (tRNA)
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
การศึกษา DNA การศึกษาโครงสร้างของ DNA นักฟิสิกส์ได้ใช้เทคนิคอย่างหนึ่งที่เรียกว่า เอกซ์เรย์ ดิฟแฟรกชัน (X-ray diffraction) ศึกษาโครงสร้างของสารเคมีต่าง.
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ชื่อ คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate), แซคคาไรด์ (Saccharide) ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นชื่อเรียกรวมๆ ของกลุ่มของสารเคมีชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สารเคมีในกลุ่มนี้มีหลายชนิด.
Nucleic Acid Chemistry & Structure
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
เคมีของชีวิต สารประกอบอินทรีย์
พันธุศาสตร์โมเลกุล การปรับปรุงพันธุ์ ลักษณะตามต้องการ
ยีนและโครโมโซม ครูจุมพล คำรอต
Animal Breeding and Improvement การปรับปรุงพันธุ์สัตว์
Transcription (การถอดรหัส)
12 Nov 2014 Metabolism of Nucleotides
โครงสร้างของ DNA. ปี พ. ศ มัวริส เอช เอฟ วิลคินส์ (Maurice H. F
การจำลองตัวเองของ DNA (DNA replication)
สารชีวโมเลกุล (Biomolecules) ดร.ธิดา อมร.
ยีนและโครโมโซม.
ผู้ช่วยสอน : นางสาวอมรรัตน์ ตันบุญจิตต์
ยีน และ โครโมโซม.
โดย ครูสุดารัตน์ คำผา โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
ชั่วโมงที่ 39 กรดนิวคลิอิก
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
กรดนิวคลีอิก(nucleic acid)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)

กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid) เป็นแหล่งเก็บข้อมูลทางพันธุกรรมและถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิต แบ่งออกเป็น 2 ชนิด กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก (Deoxyribonucleic acid) “DNA” กรดไรโบนิวคลีอิก (Ribonucleic acid) “RNA”

DNA RNA พบในนิวเคลียสของเซลล์ ทำหน้าที่เป็นสารพันธุกรรม พบในนิวเคลียสและไซโทพลาซึม สร้างโปรตีนภายในเซลล์

DNA RNA protein

โครงสร้างของกรดนิวคลีอิก สายของ กรดนิวคลีอิก (nucleic acid) ประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า นิวคลีโอไทด์ (nucleotide) แต่ละ nucleotide ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ 1.เบสที่มีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ ( nitrogenous base) 2.น้ำตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอม (pentose sugar) * น้ำตาลไรโบส (RNA) * น้ำตาลดีออกซีไรโบส (DNA) 3.หมู่ฟอสเฟต (phosphate group) แต่ละนิวคลีโอไทด์มาต่อกันเป็นสายยาวเชื่อมด้วยพันธะไฮโดรเจน  กรดนิวคลีอิก

1. เบสที่มีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ ( nitrogenous base) เบสพิริมิดีน (Pyrimidines Base) มี 3 ชนิด คือ ไซโทซีน (Cytosine : C) ไทมีน (Thymine : T ) (in DNA) ยูราซิล (Uracil : U ) (in RNA) เบสพิวรีน (Purines Base) มี 2 ชนิด คือ อะดีนีน (Adenine : A) กวานีน (Guanine : G)

Nitrogenous base Pyrimidines Purines

ใน DNA และ RNA มีเบสอยู่ 4 ชนิด DNA มีเบส A, G, C, T RNA มีเบส A, G, C, U

2. น้ำตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอม (pentose sugar) ใน RNA คือ ribose ใน DNA คือ deoxyribose น้ำตาลดีออกซีไรโบส น้ำตาลไรโบส

3. หมู่ฟอสเฟต (phosphate group)

pentose + nitrogenous base + phosphate group = nucleotide

Nucleotide หลายโมเลกุลมาเชื่อมต่อกัน ได้สายยาวของ polynucleotide ที่มีหมู่ phosphate และ pentose เรียงต่อกันเป็นสาย โดย nitrogenous base ยื่นออกมาจากส่วนยาวของ nucleic acid Bond ที่มาเชื่อมต่อระหว่าง nucleotide 2 โมเลกุล เรียกว่า Phosphodiester linkage

สรุปโครงสร้างของกรดนิวคลีอิก ประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า.............ซึ่งประกอบด้วย 1............................... 2............................... 3............................... เบสพิวรีน ได้แก่.................................... เบสพิริมิดีน ได้แก่................................... ที่พบเฉพาะใน DNA คือ............................... ที่พบเฉพาะใน RNA คือ............................... น้ำตาลไรโบส พบใน……………… น้ำตาลดีออกซีไรโบส พบใน.........................

DNA (Deoxyribonucleic acid) ประกอบด้วยสาย polynucleotide 2 สาย เรียงต่อขนานกัน และมีโครงสร้างเป็นเกลียว เรียกว่า double helix

The structure of part of a DNA double helix ที่มา : http://en.wikipedia.org/wiki/Image:DNA_Overview.png

การจับคู่ของเบสใน DNA A จับกับ T ใช้พันธะไฮโดรเจน 2 พันธะ G จับกับ C 3 พันธะ

รหัสพันธุกรรม

RNA (Ribonucleic acid) 1. Ribosomal RNA (rRNA) 2. Messenger RNA (mRNA) 3. Transfer RNA (tRNA)

1. Ribosomal RNA (rRNA) - 80-90 % ของ RNAที่พบภายในเซลล์ จัดเป็น rRNA -สร้างจาก DNA โดยกระบวนการถอดรหัส ทำหน้าที่เป็นองค์ประกอบของไรโบโซมโดยอาร์เอ็นเอรวมกับโปรตีนกลายเป็น หน่วยของไรโบโซม

2. Messenger RNA (mRNA) - 2-4 % ของ RNA ที่พบภายในเซลล์ -  เป็น RNA ที่ได้จากกระบวนการถอดรหัส ( transcription ) ของสายใดสายหนึ่งของ DNAซึ่งจะทำหน้าที่เป็นรหัสพันธุกรรมที่ใช้ในการสังเคราะห์โปรตีน

3. Transfer RNA (tRNA) RNA ชนิดนี้ผลิตจาก DNA เช่นเดียวกัน ทำหน้าที่ในการนำกรดอะมิโนต่างๆ ไปยังไรโบโซม ซึ่งเป็นแหล่งที่มีการสังเคราะห์โปรตีน ในไซโทพลาซึม

เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง DNA กับ RNA หมู่ฟอสเฟต เหมือนกัน น้ำตาล Deoxyribose sugar Ribose sugar เบส Purine (A, G) pyrimidine (T, C) pyrimidine (U, C) polynucleotide Double stand (สายคู่) Single stand (สายเดี่ยว)