วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากสัตว์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
การใช้ถั่วมะแฮะในอาหารสุกรระยะเจริญเติบโต
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากสัตว์
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน น้ำมันพืชและไขมันสัตว์
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากสัตว์
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน ข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าว
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน ผลพลอยได้จากเมล็ดพืชน้ำมัน
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
การถนอมอาหาร.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
การเสื่อมเสียของอาหาร
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
สถานการณ์การเงินการคลัง
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
การวิเคราะห์อาหารสัตว์
เป้าเบิกจ่าย งบรวม เป้าเบิกจ่าย งบลงทุน งบรวม เบิกจ่าย.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
การเลี้ยงปลากะพงขาว.
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
รู้จัก...ก๊าซหุงต้ม (LPG)...ให้มากขึ้น...
ขวดแชมพู รายวิชา เทคโนโลยีพลาสติกอุตสาหกรรม
รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
whey เวย์ : casein เคซีน
นางสาวสุธาสินี ภัยชนะ
การใช้มันสำปะหลังเป็นแหล่งพลังงานในสูตรอาหารสุกร
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
โดย นายณรงค์ชัย มั่นศักดิ์
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
สำนักวิชาการและแผนงาน
อ่านบ้างนะ มีประโยชน์
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
(B2E Rice Bran Oil and Germ)
น้ำมันรำข้าวและจมูกข้าว
โคเลสเตอรอล โคเลสเตอรอล (Cholesterol) เป็นอนุพันธ์ของ ไขมัน ที่อยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ และสัตว์ เป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยให้ร่างกายทำงานได้
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
หลักการเลือกซื้ออาหาร
โดย ด.ช.กฤษณรักษ์ ปิ่นตา ม.1/4 เลขที่ 16
อาหารปลอดภัยด้านประมง
การใช้ฝุ่นจากกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อผลิตแอลกอฮอล์
ยอดกาหยู ชื่อถิ่น กาหยู ชื่อสามัญ Cashew
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
โดย สถานีพัฒนาอาหารสัตว์สุพรรณบุรี
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากสัตว์ ปลาป่น

- เป็นแหล่งวัตถุดิบโปรตีนที่มีคุณค่าทางอาหารสูง ปลาป่น (Fish meal) - เป็นวัตถุดิบที่อาจทำจากปลาทั้งตัว เศษเหลือจาก อุตสาหกรรมประมง - เป็นแหล่งวัตถุดิบโปรตีนที่มีคุณค่าทางอาหารสูง ใกล้เคียงกับน้ำนม และย่อยได้ง่าย - Ca, P ,other minerals - animal protein factor (APF) - ราคาแพงจึงนิยมใช้เฉพาะในอาหารสุกรและสัตว์ปีก

ปลาป่นที่ผลิตในประเทศไทย ปลาขนาดเล็ก ปลาที่ได้จากอวนลากซึ่งเป็นปลาหน้าดินเช่น ปลาแป้น ปลาวัว ปลาหลังเหลือง ปลาซิว ปลาทูเล็ก เป็นต้น ปลาเป็ด กากปู เปลือกหอยติดมาด้วย คุณภาพของปลาป่นภายในประเทศต่ำ ปลาผิวน้ำ ปลาหลังเขียว ปลาทูแขก คุณภาพดี โปรตีนสูง สะอาด

ลักษณะทางกายภาพของปลาป่น สี (color) น้ำตาลออกเหลือง น้ำตาลเข้ม ( ปลาสด) สีออกเทา (ปลาไม่สด) สีแตกต่างกันมาก ขึ้นอยู่กับชนิด ความสดของปลา กระบวนการผลิต กลิ่น ( odour) กลิ่นหอมเหมือนปลาแห้งป่น กลิ่นเหม็นออกเค็ม (ปลาไม่สด)

ลักษณะเนื้อ ( texture) ปลาสด :พบเส้นกล้ามเนื้อปลา และมีลักษณะฟู ปลาไม่สด: เนื้อค่อนข้างละเอียด เส้นกล้ามเนื้อปลามีน้อย เนื้อปลาถูกย่อยสลาย

กระบวนการผลิตปลาป่นในประเทศไทย 1. ปลาป่นอัดน้ำมัน (ปลาป่นจืด) ปลาดิบ กระบวนการผลิตปลาป่นในประเทศไทย 1. ปลาป่นอัดน้ำมัน (ปลาป่นจืด) ปลาดิบ นึ่ง ต้มสุกด้วยไอน้ำร้อน ความดันประมาณ 1.05-2.81 กก./ซม2 เข้าเครื่องบีบอัดเอาน้ำและน้ำมันออก อบแห้ง บดบรรจุกระสอบ

โปรตีนสูง ( 50-70 %) คุณภาพดี lysine, met, try เกลือต่ำประมาณ 3 % ไขมันต่ำ 5-6 % เก็บได้นาน 2. ปลาป่นไม่อัดน้ำมัน (ปลาป่นธรรมดา ปลาป่นเค็ม) ปลาดิบอบแห้ง บด บรรจุกระสอบ โปรตีน 35-50 % เกลือ 5-7 % ไขมันสูง เก็บได้ไม่นาน กลิ่นหืน

มาตรฐานการกำหนดคุณภาพปลาป่นของไทยโดยประกาศของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ความชื้นไม่เกินร้อยละ 12 โปรตีนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ไขมันไม่มากกว่าร้อยละ 10 กากไม่มากกว่าร้อยละ 2 เถ้าไม่เกินร้อยละ 30 เกลือไม่เกินร้อยละ 3

ปลาป่นที่ควรใช้เป็นอาหารสัตว์ ความชื้นสูงสุดไม่เกิน ร้อยละ 10 หากสูงกว่านี้อาจจะมีปัญหาเสียเร็ว โปรตีนอย่างน้อย ร้อยละ 52 ควรมีประมาณร้อยละ 58 ขึ้นไป ไขมันสูงสุด ร้อยละ 12 หากสูงมากจะทำให้ไฟไหม้ และเหม็นหืน ความเค็มสูงสุด ร้อยละ 3.5 โดยทั่วไปปลาป่นจะมีเกลือร้อยละ 1-2 แคลเซียมสูงสุด ร้อยละ 8 ปลาป่นที่ดีควรมีค่าไม่เกินสองเท่าของ ฟอสฟอรัส ฟอสฟอรัสต่ำสุด ร้อยละ 2 ทั่วไปมีร้อยละ 2.5-3.5

คุณภาพของปลาป่น ผลิตในประเทศไทย โปรตีน/กรดอะมิโน เกรด 1 เกรด 1 เกรด 2 เกรด 3 (นำเข้า) โปรตีน 66.9 66.3 60.2 54.9 Lysine 4.5 4.7 4.2 3.8 Methionine 1.7 1.9 1.6 1.6 Histidine 1.9 1.9 1.4 1.4 Arginine 4.8 4.9 4.4 4.4

ปลาป่นต่างประเทศ คุณภาพค่อนข้างคงที่เพราะผลิตจากปลาป่นชนิดเดียวกัน เช่น ปลาเฮอริง เมนฮาเดน หรือ แอนโชวี ซึ่งมี ไขมันสูง จึงไม่เป็นที่นิยมของ มนุษย์

ส่วนประกอบทางเคมีของปลาป่น Red Fish White Fish ไทย DM 92 92.0 92.1 CP 57.0 63.0 55.9 EE 8.0 4.0 6.2 CF 1.0 1.0 0.7 Ash 26.0 22.0 25.8 Ca 7.8 7.0 6.8 P 3.8 3.5 2.7 TDN 70 72 ไม่มีข้อมูล

Corn Fish meal SBM CP 10.4 77.4 52.4 Arg 0.45 4.5 3.8 His 0.18 1.6 1.4 Ile 0.45 3.5 2.8 Leu 0.99 5.7 4.3 Lys 0.18 6.2 3.4 Phe 0.45 3.1 2.8 Thr 0.36 3.2 2.2 Try 0.09 0.9 0.7 Met 0.09 2.3 0.7

Anchovy Herring Menhaden DM 92 93 92 ME 2580 3190 2820 CP 64.2 72.3 60.1 EE 5.0 10.0 9.4 Arg 2.78 4.21 3.81 Lys 3.28 5.07 5.47 His 2.18 1.59 1.74 Met 1.00 1.95 2.16

ลักษณะปลาป่นที่ดี - สะอาด ไม่เน่า และแห้ง (ความชื้นไม่เกิน 10%) - สะอาด ไม่เน่า และแห้ง (ความชื้นไม่เกิน 10%) - มี NaCl ได้ประมาณ 3% แต่ไม่เกิน 7% - มีน้ำมันน้อย เพราะถ้ามากจะ - Oxidize เร็ว - เนื้อมีกลิ่น - แหล่งของ Lysine, Vit B

ข้อมูลที่ควรจะรู้เมื่อซื้อปลาป่น - ชนิด และขนาดของปลา - ความสด สารกันเน่าเสีย - Antioxidants - อุณหภูมิที่ใช้ drying

ความผันแปรของคุณค่าทางอาหาร - ชนิดและขนาดปลา : ปลาตัวใหญ่จะมีเนื้อปลามากกว่า : ปลาทะเลลึกโปรตีนสูง - กรรมวิธีในการผลิต : ปลาเน่า ความร้อนสูง( > 60oc) Lys จะถูกทำลาย - เถ้าและไขมันในปลา : เถ้าสูง โปรตีนต่ำ :ใขมันสูง หืน กลิ่นเหม็น - การปลอมปน ทรายละเอียด เปลือกหอย หินฝุ่น ขนไก่ป่น

ข้อจำกัดในการใช้ปลาป่น - ปลาดิบมี anti-thiamine ทำให้สัตว์ใช้ B1 ไม่ได้ - ถ้าใช้มากเกินไปจะขาด folic acid - ปลาเน่าจะมี Salmonella - กลิ่นเน่าจะมี biogenic amine (histamin) ทำให้ท้องร่วง

การใช้ในสูตรอาหารสัตว์ ลูกสุกรที่ให้ creep feed 10% สุกรหย่านม 5% สุกรขุน 7% พ่อ-แม่พันธุ์ 7% ไก่เล็ก 8% ไก่โต 5%

สัตว์กระเพาะรวม ลูกสัตว์ที่ต้องการโปรตีน และกรดแอมิโนที่จำเป็นสูง สารกระตุ้นการเจริญเติบโต สัตว์โตใช้ < 5 % แหล่งแร่ธาตุ สารกระตุ้นการเจริญเติบโต