วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากสัตว์ ปลาป่น
- เป็นแหล่งวัตถุดิบโปรตีนที่มีคุณค่าทางอาหารสูง ปลาป่น (Fish meal) - เป็นวัตถุดิบที่อาจทำจากปลาทั้งตัว เศษเหลือจาก อุตสาหกรรมประมง - เป็นแหล่งวัตถุดิบโปรตีนที่มีคุณค่าทางอาหารสูง ใกล้เคียงกับน้ำนม และย่อยได้ง่าย - Ca, P ,other minerals - animal protein factor (APF) - ราคาแพงจึงนิยมใช้เฉพาะในอาหารสุกรและสัตว์ปีก
ปลาป่นที่ผลิตในประเทศไทย ปลาขนาดเล็ก ปลาที่ได้จากอวนลากซึ่งเป็นปลาหน้าดินเช่น ปลาแป้น ปลาวัว ปลาหลังเหลือง ปลาซิว ปลาทูเล็ก เป็นต้น ปลาเป็ด กากปู เปลือกหอยติดมาด้วย คุณภาพของปลาป่นภายในประเทศต่ำ ปลาผิวน้ำ ปลาหลังเขียว ปลาทูแขก คุณภาพดี โปรตีนสูง สะอาด
ลักษณะทางกายภาพของปลาป่น สี (color) น้ำตาลออกเหลือง น้ำตาลเข้ม ( ปลาสด) สีออกเทา (ปลาไม่สด) สีแตกต่างกันมาก ขึ้นอยู่กับชนิด ความสดของปลา กระบวนการผลิต กลิ่น ( odour) กลิ่นหอมเหมือนปลาแห้งป่น กลิ่นเหม็นออกเค็ม (ปลาไม่สด)
ลักษณะเนื้อ ( texture) ปลาสด :พบเส้นกล้ามเนื้อปลา และมีลักษณะฟู ปลาไม่สด: เนื้อค่อนข้างละเอียด เส้นกล้ามเนื้อปลามีน้อย เนื้อปลาถูกย่อยสลาย
กระบวนการผลิตปลาป่นในประเทศไทย 1. ปลาป่นอัดน้ำมัน (ปลาป่นจืด) ปลาดิบ กระบวนการผลิตปลาป่นในประเทศไทย 1. ปลาป่นอัดน้ำมัน (ปลาป่นจืด) ปลาดิบ นึ่ง ต้มสุกด้วยไอน้ำร้อน ความดันประมาณ 1.05-2.81 กก./ซม2 เข้าเครื่องบีบอัดเอาน้ำและน้ำมันออก อบแห้ง บดบรรจุกระสอบ
โปรตีนสูง ( 50-70 %) คุณภาพดี lysine, met, try เกลือต่ำประมาณ 3 % ไขมันต่ำ 5-6 % เก็บได้นาน 2. ปลาป่นไม่อัดน้ำมัน (ปลาป่นธรรมดา ปลาป่นเค็ม) ปลาดิบอบแห้ง บด บรรจุกระสอบ โปรตีน 35-50 % เกลือ 5-7 % ไขมันสูง เก็บได้ไม่นาน กลิ่นหืน
มาตรฐานการกำหนดคุณภาพปลาป่นของไทยโดยประกาศของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ความชื้นไม่เกินร้อยละ 12 โปรตีนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ไขมันไม่มากกว่าร้อยละ 10 กากไม่มากกว่าร้อยละ 2 เถ้าไม่เกินร้อยละ 30 เกลือไม่เกินร้อยละ 3
ปลาป่นที่ควรใช้เป็นอาหารสัตว์ ความชื้นสูงสุดไม่เกิน ร้อยละ 10 หากสูงกว่านี้อาจจะมีปัญหาเสียเร็ว โปรตีนอย่างน้อย ร้อยละ 52 ควรมีประมาณร้อยละ 58 ขึ้นไป ไขมันสูงสุด ร้อยละ 12 หากสูงมากจะทำให้ไฟไหม้ และเหม็นหืน ความเค็มสูงสุด ร้อยละ 3.5 โดยทั่วไปปลาป่นจะมีเกลือร้อยละ 1-2 แคลเซียมสูงสุด ร้อยละ 8 ปลาป่นที่ดีควรมีค่าไม่เกินสองเท่าของ ฟอสฟอรัส ฟอสฟอรัสต่ำสุด ร้อยละ 2 ทั่วไปมีร้อยละ 2.5-3.5
คุณภาพของปลาป่น ผลิตในประเทศไทย โปรตีน/กรดอะมิโน เกรด 1 เกรด 1 เกรด 2 เกรด 3 (นำเข้า) โปรตีน 66.9 66.3 60.2 54.9 Lysine 4.5 4.7 4.2 3.8 Methionine 1.7 1.9 1.6 1.6 Histidine 1.9 1.9 1.4 1.4 Arginine 4.8 4.9 4.4 4.4
ปลาป่นต่างประเทศ คุณภาพค่อนข้างคงที่เพราะผลิตจากปลาป่นชนิดเดียวกัน เช่น ปลาเฮอริง เมนฮาเดน หรือ แอนโชวี ซึ่งมี ไขมันสูง จึงไม่เป็นที่นิยมของ มนุษย์
ส่วนประกอบทางเคมีของปลาป่น Red Fish White Fish ไทย DM 92 92.0 92.1 CP 57.0 63.0 55.9 EE 8.0 4.0 6.2 CF 1.0 1.0 0.7 Ash 26.0 22.0 25.8 Ca 7.8 7.0 6.8 P 3.8 3.5 2.7 TDN 70 72 ไม่มีข้อมูล
Corn Fish meal SBM CP 10.4 77.4 52.4 Arg 0.45 4.5 3.8 His 0.18 1.6 1.4 Ile 0.45 3.5 2.8 Leu 0.99 5.7 4.3 Lys 0.18 6.2 3.4 Phe 0.45 3.1 2.8 Thr 0.36 3.2 2.2 Try 0.09 0.9 0.7 Met 0.09 2.3 0.7
Anchovy Herring Menhaden DM 92 93 92 ME 2580 3190 2820 CP 64.2 72.3 60.1 EE 5.0 10.0 9.4 Arg 2.78 4.21 3.81 Lys 3.28 5.07 5.47 His 2.18 1.59 1.74 Met 1.00 1.95 2.16
ลักษณะปลาป่นที่ดี - สะอาด ไม่เน่า และแห้ง (ความชื้นไม่เกิน 10%) - สะอาด ไม่เน่า และแห้ง (ความชื้นไม่เกิน 10%) - มี NaCl ได้ประมาณ 3% แต่ไม่เกิน 7% - มีน้ำมันน้อย เพราะถ้ามากจะ - Oxidize เร็ว - เนื้อมีกลิ่น - แหล่งของ Lysine, Vit B
ข้อมูลที่ควรจะรู้เมื่อซื้อปลาป่น - ชนิด และขนาดของปลา - ความสด สารกันเน่าเสีย - Antioxidants - อุณหภูมิที่ใช้ drying
ความผันแปรของคุณค่าทางอาหาร - ชนิดและขนาดปลา : ปลาตัวใหญ่จะมีเนื้อปลามากกว่า : ปลาทะเลลึกโปรตีนสูง - กรรมวิธีในการผลิต : ปลาเน่า ความร้อนสูง( > 60oc) Lys จะถูกทำลาย - เถ้าและไขมันในปลา : เถ้าสูง โปรตีนต่ำ :ใขมันสูง หืน กลิ่นเหม็น - การปลอมปน ทรายละเอียด เปลือกหอย หินฝุ่น ขนไก่ป่น
ข้อจำกัดในการใช้ปลาป่น - ปลาดิบมี anti-thiamine ทำให้สัตว์ใช้ B1 ไม่ได้ - ถ้าใช้มากเกินไปจะขาด folic acid - ปลาเน่าจะมี Salmonella - กลิ่นเน่าจะมี biogenic amine (histamin) ทำให้ท้องร่วง
การใช้ในสูตรอาหารสัตว์ ลูกสุกรที่ให้ creep feed 10% สุกรหย่านม 5% สุกรขุน 7% พ่อ-แม่พันธุ์ 7% ไก่เล็ก 8% ไก่โต 5%
สัตว์กระเพาะรวม ลูกสัตว์ที่ต้องการโปรตีน และกรดแอมิโนที่จำเป็นสูง สารกระตุ้นการเจริญเติบโต สัตว์โตใช้ < 5 % แหล่งแร่ธาตุ สารกระตุ้นการเจริญเติบโต