วิชายาและการใช้ยาสัตว์ (Animal Drugs and Usage) รหัสวิชา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 หลักทั่วไปในในการป้องกันและควบคุม อันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน #
Advertisements

ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
Tetracyclines คุณสมบัติทางเคมี เป็นกลุ่มยาที่มีพิษน้อยและใช้กันมาก
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
AMINOGLYCOSIDES เป็นยากลุ่มที่นิยมใช้น้อยกว่ากลุ่มเพนนิซิลลินเนื่องจากมีความเป็นพิษสูง แต่สามารถนำมาใช้ร่วมกับยาในกลุ่มเพนนิซิลลินทำให้สามารถออกฤทธิ์เพิ่มได้อย่างทวีคูณ.
Antinematodal Drugs (ยากำจัดพยาธิตัวกลม) 1. Piperazine
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
ท้องผูก Constipation จัดทำโดย ด.ช.กันตภณ พลับจีน ม.1/4 เลขที่ 3
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
วิธีการทางวิทยาการระบาด
การศึกษาค้นคว้าและการทำภาคนิพนธ์
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
การจัดสวัสดิการ ของสหกรณ์
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 ประเภทของยา แบ่งตามแผนของการประกอบโรคศิลปะ
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
การจำแนกชนิดผลิตภัณฑ์สุขภาพ
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 3 สิงหาคม 2554.
ฉลากและการโฆษณาเครื่องสำอาง
โรคอุจจาระร่วง.
อย. กับผลิตภัณฑ์ทางทันตกรรม
นส.ศิริพันธุ์ ไชยสุริยา รหัสนิสิต
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
อาจารย์รัตนา เล็กสมบูรณ์ สัดส่วนการทำงาน 65%
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
บทคัดย่อ ปัญหาที่จะส่งผลกระทบต่องสุขภาพของประชาชนจากแพร่กระจายของเชื้อโรคในน้ำ และมีลักษณะของคลอรีนตกค้างมากเกินไปในเส้นท่อจ่ายน้ำประปา ผู้วิจัยจึงต้องการให้น้ำมีคุณภาพที่ดีขึ้นและเพื่อรักษาแหล่งน้ำไว้
Broccoli Wheat grass Barley Grass Spinach Alfalfa Herb Pepermint leaf
ชีวะ ม. ปลาย.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
ผลไม้ รักษาโรคได้.
ประโยชน์ของผลไม้ไทย.
เด็กหญิง พัชราพร แก้วห่อทอง ชั้น ม. 2/9 เลขที่ 33
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
หนังสืออิเลคทรอนิคส์ เรื่อง … หนังสืออุทยานการเรียนรู้ PK Park Thailand วิชา …. ความรู้ทั่วไป ชุดที่ ๑ โรงเรียนบ้านเป้า ต. บ้านฟ้า อ. บ้านหลวง จ. น่าน.
การศึกษาค้นคว้า และการทำรายงาน
การเจริญเติบโตของพืช
กำมะถัน (Sulfur).
ผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ จัดทำโดย ด.ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่8 เสนอ
สมาชิกกลุ่ม 6 ชมเชยที่ 6 1.ด.ญ.ชลธิชา สอดศรี เลขที่ 29
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
10 อันดับน้ำผลไม้เพื่อสุขภาพ
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
กฎหมายเกี่ยวกับการขนส่ง
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานสารกำจัดวัชพืช Herbicide Tolerant Plant
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชายาและการใช้ยาสัตว์ (Animal Drugs and Usage) รหัสวิชา 515-463 สพ.ญ.อุษา เชษฐานนท์

บทนำ วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษาได้ทราบ 1. ความรู้พื้นฐานในการออกฤทธิ์ของยาซึ่งเกี่ยวข้องกับ การดูดซึม การกระจาย และการขับออกของยา 2. ความรู้พื้นฐานในการเลือกใช้ยาซึ่งเกี่ยวข้องกับรูปแบบ ประสิทธิภาพ ความปลอดภัยและข้อบ่งใช้อื่น ๆ ในการให้ยา 3. ยากลุ่มต่างๆ ที่มีการใช้มากในการเลี้ยงสัตว์ ประกอบกับหลักในการเลือกใช้ยาแต่ละกลุ่มอย่างถูกต้องและเหมาะสม เช่น ยาต้านจุลชีพ ยาถ่ายพยาธิ วัคซีน และอื่น ๆ

พ.ร.บ. ยา พ.ศ. 2510 (8) คำว่า “ยา” หมายความว่า 1. วัตถุที่รับรองไว้ในตำรายา ที่ รัฐมนตรีประกาศ 2. วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการวิเคราะห์ บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกัน โรค หรือความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์ 3. วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้างหรือการกระทำหน้าที่ใดๆ ของร่างกายมนุษย์หรือสัตว์ที่รัฐมนตรีประกาศ วัตถุตาม (1) หรือ (2) ไม่รวมถึงวัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้เป็นอาหาร เครื่องกีฬา เครื่องสำอาง เครื่องมือที่ใช้ในการประกอบโรคศิลป์ และส่วนประกอบของเครื่องมือที่ใช้ในการนั้น

สรุป ยาคือ สารเคมีทุกชนิด ยกเว้นอาหาร ซึ่งใช้ในการบำรุง ป้องกัน หรือ รักษาสุขภาพ ของคนและสัตว์

เภสัชวิทยา (Pharmacology) เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับยา โดยแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ 1.Pharmacokinetics (เภสัชจลนศาสตร์: ร่างกาย ยา) การออกฤทธิ์ของยา : การดูดซึม การกระจาย และการขับออกของยา 2. Pharmacodynamics (เภสัชพลศาสตร์: ยา ร่างกาย) กลไกการออกฤทธิ์ ผลที่ใช้รักษา รูปแบบและขนาดของยา อาการที่ไม่พึงประสงค์

ชนิดของยาที่ใช้ในการรักษาโรค แบ่งเป็น 2 ชนิดใหญ่ๆ คือ 1. ยาที่มีผลต่อการทำลาย / ยับยั้งเชื้อ ยาต้านแบคทีเรีย ยาถ่ายพยาธิ เป็นต้น 2. ยาที่ใช้รักษาตามอาการ ยาแก้ไข้ แก้ปวด วิตามินต่างๆ เป็นต้น

แหล่งกำเนิดของยา 1. ยาสังเคราะห์ 2. ยาที่ได้จากธรรมชาติ ได้จากพืช เช่น สมุนไพร ได้จากสัตว์ เช่น ตับ น้ำดี ได้จากแร่ธาตุ เช่น ยาเคลือบ ลำไส้ (kaolin) ได้มาจาก ดินขาว

กลุ่มยา สำคัญ ที่ใช้ในการเลี้ยงสัตว์ มีดังนี้ ยาที่มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ยาที่มีผลต่อระบบประสาทอัตโนมัติ ฮอร์โมน เบต้าอะโกนิสต์และสารเร่งการเจริญเติบโต วัคซีน ยาฆ่าเชื้อและยาล้างเชื้อ ยาต้านแบคทีเรีย ยากำจัดพยาธิภายในและภายนอก สมุนไพร

การใช้ยา มีหัวข้อที่จำเป็นต้องทราบ (อย่างน้อยที่สุด) ดังนี้ 1. ชื่อยา ชื่อทางเคมี/ ชื่อสามัญ/ ชื่อทางการค้า 2. สรรพคุณ 3. รูปแบบและวิธีที่เหมาะสมในการให้ยา 4. เวลาและตำแหน่งที่ยาออกฤทธิ์ 5. ขนาดของยาที่ให้ 6. การเป็นพิษ หรือ อาการข้างเคียง