การช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นในเด็ก (Basic CPR)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
Advertisements

Adult Basic Life Support
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
สมมุติว่าขณะนี้เป็นเวลาประมาณหกโมงเย็นและคุณกำลังขับรถกลับบ้านคนเดียวหลังจากเสร็จสิ้นวันทำงานอันแสนเหน็ดเหนื่อย คุณรู้สึกเหนื่อยล้าและคับข้องใจเป็นอย่างมาก…
NAVY PILLOW 2012 (หมอนน้ำ ).
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
รถยนต์ตกน้ำจะเอาตัวรอดได้อย่างไร
เรื่อง การปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้อื่น
ปวดหลังส่วนล่าง LOW BACK PAIN
การเจริญเติบโตของมนุษย์
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
Thailand Research Expo
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
ตำแหน่งของลำตัวและศรีษะ
สุขภาพจิต และการปรับตัว
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
โรงพยาบาลทุ่งสง นครศรีธรรมราช
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 24 สิงหาคม 2552
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
( Cardiopulmonary Resuscitation : CPR )
นวัตกรรม ถุงประคบมือถือ
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
การเป็นลมและช็อก.
การชักและหอบ.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพาต
การช่วยเหลือผู้จมน้ำ
กรณีกดจุดระงับหอบหืด ให้ผู้อื่นกดให้
End of life care ช่วงสุดท้ายของชีวิต
การเจริญเติบโตของร่างกาย
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
แนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต
การพันผ้า (Bandaging)
นิ้วกลางไขว้ทับนิ้วชี้ กดมุมกระดูกขากรรไกรล่างซ้ายขวา เบาๆ
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
ให้ผู้ป่วยเคี้ยวอาหารให้ละเอียดพร้อมกลืน
สาขาวิชาวิศวกรรมการจัดการความปลอดภัย
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนที่ 3 สอนโดย นายวิเชียร มีสม เรื่อง การป้องกันอุบัติภัย เรื่อง.
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ
การเจริญเติบโตของร่างกาย
ไดร์เป่าผม เป่าขอบก้นสองข้างให้ทั่ว 1 นาที
นางสาวนิตย์ติญา ดวงใจ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
การช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น
พรพรรณ เจริญวัฒนวิญญู พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วิธีการลดน้ำหนัก ด.ช.พีรณัฐ บุญชื่น ม.3/3 เลขที่ 20 เสนอ
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
การบริหารการหายใจ เพื่อการคลายเครียด
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นในเด็ก (Basic CPR) อำไพพร ก่อตระกูล ภาคฯการพยาบาลกุมารฯ คณะพยาบาลศาสตร์ มอ. FB: Ampaiporn Kautrakool Email: ampiporn.k@gmail.com

ความคาดหวัง?  รู้ เข้าใจ & ตระหนักถึงความสำคัญ  รู้ เข้าใจ & ตระหนักถึงความสำคัญ  รู้ & เข้าใจ หลักการและวิธีการเบื้องต้น  สามารถช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลักได้  สามารถช่วยเหลือเมื่อน้องไม่หายใจและช่วยนวดหัวใจเมื่อหัวใจหยุดเต้นได้

WHY? ทำไมถึงสำคัญ

WHY? ทำไมถึงสำคัญ? Chain of Survival

Chain of Survival จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย และป้องกันอุบัติเหตุ จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย และป้องกันอุบัติเหตุ เริ่ม CPR ให้เร็วที่สุด โดยเน้นการกดหน้าอก ขอความช่วยเหลือจากศูนย์กู้ชีพฉุกเฉินให้เร็วที่สุด ** บันทึกเบอร์โทฯหน่วยที่ใกล้ที่สุด** นำส่งสถานพยาบาลที่มีความพร้อมเพื่อให้ได้รับ การกู้ชีพขั้นสูงให้เร็วที่สุด ให้การดูแลหลังการกู้ชีพ

WHY? ทำไมผู้ดูแลฯต้อง CPR ได้ เราอยู่กับ “เด็กปฐมวัย” เสี่ยงต่อการเกิดบาดเจ็บ เล็กน้อย-ถึงชีวิต: ทางเดินหายใจอุดกั้น จากการสำลักสิ่งแปลกปลอม ที่เด็กคว้าเข้าปาก

WHY? ทำไมวัยเด็กจึงเสี่ยง 1. สาเหตุจากตัวเด็ก  ธรรมชาติตามวัย:  ร่างกายยังเจริญเติบโตไม่พร้อมสมบูรณ์  จิตใจ-อารมณ์-พัฒนาการยังไม่พร้อมสมบูรณ์  สัญชาติญาณ-อยากรู้อยากเห็น  เพศ: ชาย > หญิง

WHY? ทำไมวัยเด็กจึงเสี่ยง 2. สาเหตุจากผู้ดูแล:  ขาดความเอาใจใส่  ไม่รอบคอบ/ระมัดระวัง/ประมาท-เลินเล่อ  สภาพร่างกาย/จิตใจ/อารมณ์ไม่คงที่ ป่วย โกรธ เครียด เศร้าโศก ฯลฯ

WHY? ทำไมวัยเด็กจึงเสี่ยง 3. สาเหตุจากสิ่งแวดล้อม  การใช้ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ไม่ถูกต้อง  ธรรมชาติ: ฝนตก น้ำท่วม  กายภาพ: สิ่งแวดล้อมภายใน-ภายนอกฯ

Chain of Survival-1 การป้องกันอุบัติเหตุ-จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย

Chain of Survival-1 การป้องกันอุบัติเหตุ-จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย 1. ผู้ดูแลฯ - มีสติ - รู้เรื่องเกี่ยวกับเด็ก - หมั่นตรวจความปลอดภัยของวัสดุ/เครื่องใช้ 2. สอนเด็ก - สอนด้วยเหตุผล ไม่ขู่/คาดโทษ - เป็นแบบอย่างที่ดี

เริ่ม CPR ให้เร็วที่สุด โดยเน้นการกดหน้าอก Chain of Survival-2 เริ่ม CPR ให้เร็วที่สุด โดยเน้นการกดหน้าอก

รู้ได้อย่างไรว่าน้องสูดสำลัก? Universal Sign

การปฐมพยาบาลเมื่อน้องสูดสำลัก 1. ไอแรงๆ ได้-พูดได้-หายใจปกติ  รีบนำส่ง รพ. ห้าม!! ใช้นิ้วล้วงคอ จะดันสิ่งแปลกปลอมลึกจนอุดกั้น ทางเดินหายใจ 2. หายใจไม่ได้ หน้าเขียว เล็บเขียว ไอไม่ออก พูดไม่ออก  รีบให้ความช่วยเหลือ จะช่วยได้อย่างไร

การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก 1. กรณีที่เด็กยังรู้สึกตัวดี ใช้วิธี "รัดท้องอัดยอดอก" หรือ "รัดอัดท้อง”  ผู้ช่วยเหลือยืนข้างหลังเด็ก ใช้แขน 2 ข้างโอบรอบเอวเด็ก  ผู้ช่วยเหลือกำหมัดข้างหนึ่ง วางบริเวณเหนือสะดือเด็กเล็กน้อย ใต้ต่อกระดูกอ่อน "ลิ้นปี่”

การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก วิธี "รัดท้องอัดยอดอก" หรือ "รัดอัดท้อง” (ต่อ)  ใช้มืออีกข้างจับมือข้างที่ กำหมัดไว้แล้ว อัดเข้าท้อง แรงๆ เร็วๆ ขึ้นไปข้างบน คล้ายกับพยายามยกเด็กขึ้น ทำซ้ำๆ หลายๆ ครั้ง จนกว่าสิ่งแปลกปลอม จะหลุดออกมา หรือจนกว่า เด็กจะหมดสติ

การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก 2. กรณีที่เด็กหมดสติ  จับเด็กนอนหงายบนพื้น

การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก 2. กรณีที่เด็กหมดสติ (ต่อ)  เปิดทางเดินหายใจ ด้วยวิธี ... "เงยหน้า-เชยคาง” (Head tilt-chin lift)

การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก 2. กรณีที่เด็กหมดสติ (ต่อ)  ตรวจในช่องปาก

การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก 2. กรณีที่เด็กหมดสติ (ต่อ) ถ้ามองเห็นสิ่งแปลกปลอม ชัดเจน ให้ใช้นิ้วชี้ค่อยๆ เขี่ยและเกี่ยวออกมา ระวัง!!! อย่าดันแรงเกินไป  หลุดเข้าไปลึกยิ่งขึ้น

การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก ถ้าหน้าอกไม่ยกขึ้นให้ทำข้อ 5!! 2. กรณีที่เด็กหมดสติ (ต่อ)  ช่วยหายใจ: เป่าปาก 2 ครั้ง  หน้าอกยกขึ้น เป่าลมหายใจให้ต่อไป เด็กโต ~ 12-20 ครั้ง/นาที เด็กเล็ก~ 20-24 ครั้ง/นาที ถ้าหน้าอกไม่ยกขึ้นให้ทำข้อ 5!!

การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก 2. กรณีที่เด็กหมดสติ (ต่อ)  อัดท้อง 6-10 ครั้ง ในท่านอนหงาย ทำจนสิ่งแปลกปลอมหลุด หรือผู้ป่วยหายใจเองได้

การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก 2. กรณีที่เด็กหมดสติ (ต่อ)  ตรวจดูช่องปากอีกครั้ง เขี่ย&เกี่ยวสิ่งแปลกปลอม ที่เห็นออก

การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก 2. กรณีที่เด็กหมดสติ (ต่อ)  ถ้าสิ่งแปลกปลอมยังไม่หลุด ออกมาหรือเด็กยังหายใจเองไม่ได้ ให้ทำตามข้อ 4-6 ไปเรื่อยๆ จนกว่า จะถึงโรงพยาบาล

การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก 2. กรณีที่เด็กหมดสติ (ต่อ)  ถ้าเด็กไม่หายใจ & ไม่ขยับเลย ให้เป่าปากและนวดหัวใจแทน จนกว่าจะถึงโรงพยาบาล **การนวดหัวใจ อาจช่วยให้ สิ่งแปลกปลอมหลุดออกมาได้ อย่าลืม!! หมั่นตรวจเช็คช่องปาก ตามข้อ 3 เป็นระยะ

WHAT? CPR คือ ... ปฏิบัติการช่วยชีวิตคนที่หัวใจหยุดเต้นและหยุดหายใจกะทันหัน

CPR มีกี่ระดับ ?  การช่วยกู้ชีพขั้นพื้นฐาน (Basic Life Support: BLS) เป็นการช่วยชีวิตคนที่หัวใจหยุดเต้นหรือเต้นอ่อนแรง โดยมุ่งการช่วยเหลือฉุกเฉินให้มีอากาศและเลือดไหลเวียนไปเลี้ยงร่างกาย  การช่วยกู้ชีพขั้นสูง (Pediatric Advanced Life Support: PALS) เป็นการกระตุ้นให้หัวใจกลับมาทำงานโดยอาศัยเครื่องมือและยา

WHO? ใครสามารถ CPR ได้ ทุกคน

WHOM? ใครต้องการการ CPR ทุกคนที่หมดสติ

HOW? CPR ทำอย่างไร ...

HOW? CPR ทำอย่างไร ...

HOW? CPR มีขั้นตอนอย่างไร 1. สำรวจสถานที่เกิดเหตุ:  ปลอดภัย/อันตราย 2. ประเมินการตอบสนอง:  เปิดทางเดินหายใจ  ประเมินการหายใจ ( < 5 วินาที)

HOW? CPR มีขั้นตอนอย่างไร 3. ขอความช่วยเหลือ  เตรียม AED (ถ้ามี)

HOW? CPR มีขั้นตอนอย่างไร 4. กดนวดหัวใจ 30 ครั้ง:  วางมือกึ่งกลางหน้าอก  กดลึก 1/3 ของลำตัว  กดเร็ว ≥100 ครั้ง/นาที

HOW? CPR มีขั้นตอนย่างไร ... 5. เปิดทางเดินหายใจ & ช่วยหายใจ 2 ครั้ง  "เงยหน้า-เชยคาง” (Head tilt-chin lift)  บีบจมูก ประกบปากเด็กให้สนิท  ช่วยหายใจด้วยการเป่าปาก หรือผ่าน Mask  ช่วยหายใจทุก ๆ หนึ่งวินาที

HOW? CPR มีขั้นตอนย่างไร ... 6. CPR ต่อเนื่องจนกว่าความ ช่วยเหลือจะมาถึง:  ถ้า AED มาถึง เปิดเครื่อง และทำตามคำแนะนำ

ไม่อยากเป่าปาก CPR ได้ไหม? อย่างไร? (http://uminntilt.wordpress.com/2012/04/)

HOW? CPR ทำอย่างไร ... 3-C’s for CPR  CHECK  CALL  CARE

สรุป ขั้นตอนการทำ CPR