ชนิดของปลวกที่เข้าทำลายต้นยางพาราและการจัดการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
การถอดความรู้ เรื่องการผลิตสับปะรดโรงงาน
การลดปัญหาเนื้อแก้วยางไหล ในการผลิตมังคุดในภาคใต้
ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืช โดยชีวินทรีย์แห่งชาติภาคใต้
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
พฤติกรรมการถ่ายทอดลูกหลานของแมลง Brood Producing Behaviors in Insects
Fungi on Lizard : a Hazard in Your Home
การควบคุมปลวกโดยชีววิธีด้วยการใช้เชื้อราเขียว Metarhizium anisopliae Metschnikoff Biological Control of Termites by Using the Green Muscardine Fungus.
การดึงดูดเพลี้ยไฟของกับดักกาวเหนียวสี Attractiveness of thrips to colored sticky trap NR.
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
(FUNGUS-FARMING INSECTS)
อิทธิพลของสภาวะโลกร้อนที่ส่งผลต่อ แมลงศัตรูพืช
แมลงศัตรูไม้สัก Insect Pest of Teak Trees
ไฮโดรโปนิกส์ Hydroponics.
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
Papaya Ring Spot Virus (Potyviridae) จัดทำโดย
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
ตำบลบ้านเหล่า อำเภอเจริญศิลป์
ประเภทของป่าไม้ ป่าไม้ในประเทศไทยมี 2 ประเภท คือ 1. ป่าดงดิบหรือป่าไม้ที่ไม่ผลัดใบ 2. ป่าผลัดใบ ซึ่งแต่ละประเภทแบ่งย่อยออกไปเป็นชนิดต่าง ๆ ได้อีก.
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
การให้น้ำยางพาราปลูกใหม่ในช่วงฤดูแล้ง
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
หนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Coconut black headed caterpillar
รายงานสถานการณ์การระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
ดอนหอยหลอด (Don Hoi Lot).
บทที่ 4 พืชมีการตอบสนอง
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
การแพร่กระจายของประชากร (Dispersion)
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ชุดโครงการวิจัย ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี (Decision Support System for Rubber Plantation.
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
การเจริญเติบโตของพืช
มหาวิทยาลัยบูรพาวิทยาเขตสระแก้ว
ทิศเหนือติดต่อกับ ตำบลพิตเพียน อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศใต้ติดต่อกับตำบลเจ้าปลุก อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศตะวันออกติดต่อกับอำเภอดอนพุด.
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
การวิจัย และองค์ความรู้จากโครงการหลวง
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชนิดของปลวกที่เข้าทำลายต้นยางพาราและการจัดการ The species of termites destroying para rubber tree and their management . ชนิดของปลวกที่เข้าทำลายต้นยางพาราและการจัดการ

ยางพารา ( Para rubber Tree ) มีถิ่นกำเนิดอยู่ใน อเมริกากลางและอเมริกาใต้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Hevea brasiliensis พืชในสกุล Hevea sp. ได้แก่ H. benthamian H. Brasiliensis H. Camargoa H. Camporum H. Guianensis H. Microphylla H. Pauciflora H. Paludosa H. Rigidifolia H. Spruceana H. Nitid

สายพันธุ์ของยาพาราในประเทศไทย แบ่งตามผลผลิต 1. พันธุ์ยางให้ผลผลิตน้ำยางสูง ได้แก่ RRIT 251, RRIT 226, BPM 24 และ RRIM 600 2. พันธุ์ยางให้ผลผลิตน้ำยางและเนื้อไม้สูง ได้แก่ PB 235, PB255, PB260 และ RRIC 110 3. พันธุ์ยางผลผลิตเนื้อไม้สูง ได้แก่ พันธุ์ พันธุ์ฉะเชิงเทรา 50, AVROS 2037 และ BPM 1

ความสำคัญของยางพารา ทางด้านเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมยางพาราและไม้ยางพารา ฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศ กระจายรายได้ให้แก่เกษตรกร อุตสาหกรรมยางพาราและไม้ยางพารา เฟอร์นิเจอร์ ถุงยางอนามัย ถุงมือยาง ยางรถยนต์ การรักษาสภาพแวดล้อม เป็นพืชทดแทนป่าไม้ เป็นที่อาศัยของสิ่งมีชีวิต ช่วยลดมลภาวะ และช่วยลดปัญหาโลกร้อน

พื้นที่ปลูกยาพาราในประเทศไทย พื้นที่ปลูกยาง พื้นที่ปลุกยาง ( ไร่ ) พื้นที่ปลูก พื้นที่กรีด ภาคเหนือ 18,369 10,303 ภาคใต้ 10,621,131 8,663,674 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 590,313 333,734 ภาคกลางและภาคตะวันออก 1,388,979 1,003,174 รวมทั้งประเทศ 12,618,792 10,010,885 ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรและสถาบันวิจัยยาง, 2546

โรคและแมลงศัตรูของยางพารา โรคราแป้ง โรคใบจุดก้างปลา ภาพที่มา : http://www.doa.go.th/pl_data/RUBBER/5pest/Image/pest08.jpg

โรคและแมลงศัตรูของยางพารา โรคใบจุดตานก โรครากขาว ที่มา : http://www.ldd.go.th/Lddwebsite/web_ord/Technical/pdf/P_Technical06020.pdf

แมลงศัตรูยางพารา หนอนทราย เพลี้ยหอย ด้วงมอดไม้ ที่มา : http://www.rubber.co.th/trang/th/images/stories/disease/rye1.gif เพลี้ยหอย ที่มา : http://www.rubber.co.th/trang/th/images/stories/disease/scale1.gif ด้วงมอดไม้ ที่มา : http://www.pbase.com/tmurray74/bark_and_ambrosia_beetles_scolytinae

แมลงศัตรูยางพารา ไรพืช ปลวก ที่มา : http://www.rubber.co.th/trang/th/images/stories/disease/rye1.gif ปลวก ที่มา : http://www.chem.unep.ch/pops/termites/pics/Ccurvignathus.jpg

ปลวก ( Termite ) Oder Isoptera ในเขตร้อน ( Tropical ) พบปลวกประมาณ 2,000 ชนิด เอเชียตะวันออกเฉียงใต้พบ 270 ชนิด ปัจจุบันในประเทศไทย พบประมาณ 103 ชนิด

ปลวก ( Termite ) 2. Damp - Wood Termites 3. Subterrenean Termites แบ่งประเภทตามการทำลายและถิ่นที่อยู่อาศัยออกเป็น 5 กลุ่ม 1. Dry - Wood Termites 2. Damp - Wood Termites 3. Subterrenean Termites 4. Rotten-wood Termites 5. Formosan subterranean termites

ปลวกและการเข้าทำลายยางพารา ปลวกใต้ดิน (Subterrenean Termites) ชื่อว่าวิทยาศาสตร์ Coptotermes curvignathus จัดอยู่ในวงศ์ Rhinotermitidae ปลวกสกุล Coptotermes curvignathus ที่มา : http://mpob.gov.my., 2006

ปลวกและการเข้าทำลายยางพารา ปลวกสามารถเข้าทำลายต้นยางได้ทุกระยะการเจริญเติบโต การเข้าทำลายของปลวกจะมีผลต่อการเจริญเติบโตของต้นยางพาราโดยตรง ก ข ภาพรากที่ถูกปลวกเข้าทำลาย ก. ทำลายต้นกล้า ข. ทำลายต้นยาง ที่มา : กรมส่งเสริมการเกษตร

การเข้าทำลายต้นยางพารา กัดกินส่วนรากของต้นยางและเนื้อไม้ภายในลำต้นที่มีชีวิตอยู่ กัดกินต่อไปภายใน ลำต้นจนเป็นโพรง สร้างรังอยู่ภายในลำต้น ภาพแสดงการถูกเข้าทำลายของราก ที่มา : http://www.rubber.co.th/trang/th/images/stories/disease/termite1.gif

ปลวกและการเข้าทำลายยางพารา อาการที่แสดง ในระยะแรกจะมีลักษณะอาการใบเหลือง ต่อมาเมื่อระบบรากถูกทำลาย ต้นยางจะตาย อาการใบเหลืองหลังโดนปลวกเข้าทำลาย ที่มา : http://www.rubber.co.th/trang/th/images/stories/disease/termite2.gif

ปลวกและการเข้าทำลายยางพารา พืชอาหารของ Coptotermes curvignathus กระถินเทพา (Acacia mangium) Paraserianthes falcataria Gmelina arborea สัก (Tactona grandis)

การจัดการ นำต้นไม้ ท่อนไม้ หรือ รากไม้ที่ตาย ออกจากบริเวณที่มีการเข้าทำลายเพื่อป้องกันการเป็นที่อยู่อาศัยและแหล่งอาหารของปลวก การป้องกันกำจัดปลวกให้ใช้สารเคมีออลดริน 0.5%, ดีลดริน 0.5%, เฮปตาคลอ 0.5% คลอเดน 1.0% ผสมน้ำรดดินรอบๆ โคนต้น และ ฟูราดาน 3 จี ในกรณีที่เป็นฤดูฝน หรือกรณีที่ดินมีความชื้นแฉะอยู่ ใช้การควบคุมโดยชีวะวิธี ไส้เดือนฝอย Steinernema carpocapsae ใช้เชื้อรา Metarhizium anisopliae

เสนอโดย... นายณัฐศิษฐ์ ผลประสาร ๔๗๔๐๐๗๐ อาจารย์ที่ปรึกษา อ.วิสุทธิ์ สิทธิฉายา ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90112 โทร. 074-286101-2