ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ 1 (Geographic Information System I)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
Advertisements

ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
ความรุนแรงในครอบครัว
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วัตถุประสงค์ของการปรับแก้เชิงเรขาคณิต
ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน (ดอน)
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
นำเสนองาน my mapping เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย
ระบบสารสนเทศเพื่อการปกครอง
ฐานข้อมูลผลการดำเนินงาน
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
โครงการวิจัยเรื่องความอยู่ดีมีสุขของประชากร ในประเทศกำลังพัฒนา
(Global Positioning System)
การคิดเชิงระบบ และการคิดเชิงวิเคราะห์
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และวิธีการสุ่มตัวอย่าง
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
- Research Questions - Hypothesis & Testing Hypothesis
What Is GIS? GIS เป็นคำย่อจาก Geographic Information System
งานวิชาการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
บทที่ ๖ การวิเคราะห์ข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS DATA ANALYSIS)
โปรแกรมทางด้านสารสนเทศภูมิศาสตร์
การประยุกต์ใช้ GIS ของกทม.
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแผนที่
การใช้เครื่องมือจับพิกัด GPS และ การใช้แผนที่เพื่อการจัดเก็บข้อมูล โดย ดร.ณัฐ มาแจ้ง นายไชยาพงษ์ เทพประสิทธิ์
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
ENTITY มุมมองยุคสารสนเทศ สังคมสารสนเทศ สังคมแห่งการเรียนรู้ (Knowledge-based Society) ประยุกต์สู่ New Economy ทิศทางวิวัฒนาการและพัฒนาสู่ยุคต่างๆ Processors.
Geographic Information System
โครงการบริหารจัดการข้อมูลที่ดินระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ(Gis) โดยใช้เครือข่าย internet สำนักงานที่ดินจังหวัดลำปาง สาขาแจ้ห่ม.
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
การประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศ กับการบริหารศัตรูพืช
การหาพิกัดภูมิศาสตร์ โครงการส่งเสริมและลดต้นทุนการผลิตข้าว
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
ร่างรายงานขั้นสุดท้าย (Draft Final Report)
กระบวนการวิจัย Process of Research
สรุปเนื้อหาสาระ ภูมิศาสตร์
เครื่องมือและเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
เรื่อง ระบบบอกตำแหน่ง (GPS)
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
หลักการเขียนโครงการ.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ส่วนฐานข้อมูลสารสนเทศทาง ภูมิศาสตร์ (GIS) การศึกษาความเป็นไปได้ของการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์เพื่อเป็นอาชีพ ทางเลือกที่มีศักยภาพในภาคอีสานตอนล่าง ผศ. สุรจิต.
ครูธีระพล เข่งวา ข้อมูลของระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ประเภทใดไม่ใช่พื้นที่ที่ นิยมใช้กันมากคืออะไร ก. ตาราง ข. ข่าวสาร ค. รูปกราฟ ง. คำอธิบาย.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
การใช้โปรแกรม Arc View 3.1
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ระบบภูมิสารสนเทศสำหรับงานติดตาม ตรวจสอบด้านทรัพยากรป่าไม้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ถาวร อ่อนประไพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ 1 (Geographic Information System I) Part II อ.วุฒิชัย แก้วแหวน คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

MAP กับ GIS เป็นสิ่งเดียวกันหรือไม่ ? หากพิจารณาถึง ข้อมูลภูมิศาสตร์,ข้อมูลเชิงพื้นที่ หรือ ข้อมูลปริภูมิ ที่เป็นองค์ประกอบพื้นฐานของระบบแผนที่และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ทั้งสองระบบนับว่าเป็นเรื่องเดียวกันทั้งในเชิงสาระ (Content) และ กระบวนการ (Process)

GIS แบบดั้งเดิม GIS แบบใหม่

ข้อมูลเชิงพื้นที่คืออะไร การจัดเก็บข้อมูลปรากฏการณ์ วัตถุ เหตุการณ์บนพื้นโลก ในรูปแบบรูปภาพ (Image or Raster) หรือเส้น (Vector) พร้อมกับการให้ความหมายข้อมูล และการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของรูปภาพหรือเส้นด้วยระบบพิกัดภูมิศาสตร์ (Geo-Reference) 100 องศา E 50 องศา N ป่า เมือง

รายระเอียด/ ข้อมูลเชิงบรรยาย ลักษณะเฉพาะทางเชิงพื้นที่ Spatial Characteristics ความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ Spatial Relationship ตำแหน่ง/ที่ตั้ง ที่ทราบค่าพิกัด ระยะทาง รายระเอียด/ ข้อมูลเชิงบรรยาย (ในรูปแบบฐานข้อมูล) ช่วงเวลา

ตารางแสดงคุณภาพน้ำของแม่น้ำท่าจีนรายเดือน ประจำเดือน มกราคม 2547 data object Station Name pH Con Do Bod TC28 สะพานมะขามเฒ่า อ.วัดสิงห์ 7.7 210 6.5 0.9 TC25 สะพานข้ามแม่น้ำบ้านตลาดสามชุก 6.8 170 5.4 0.4 TC23 ประตูระบายน้ำโพธิ์พระยา 7.8 185 5.7 2 TC22 ท้ายเมืองสุพรรณบุรี 7.5 220 4.8 2.2 ที่มา : ข้อมูลการสำรวจ ณ วันที่ 15 มกราคม 47 กรมควบคุมมลพิษ

GIS ให้ข้อมูลและสารสนเทศอะไรบ้าง (1) ตำแหน่งที่ตั้ง(LOCATION) คำถามทั่วไปใน GIS ฟีเจอร์ X อยู่ที่ไหน ? ตอบ = 3° South, 12 ° East ข้อมูลใดอยู่ที่พิกัด 5 ° South, 11 ° East ? ตอบ = Y

(2) การวัด (MEASUREMENT) ความสัมพันธ์ทางพื้นที่ ระยะทาง (Distance) เส้นรอบวง (Perimeters) การวิเคราะห์ความใกล้เคียง (Neighborhood Analysis) พื้นที่ (Area) การติดกัน (Adjacent) การเชื่อมต่อ (Adjacent) ความใกล้ไกล (Proximity)

(3) ข้อมูลเชิงบรรยาย (ATTRIBUTES) การสอบถามข้อมูลเชิงบรรยาย (Adjacent) ความสัมพันธ์ในฐานข้อมูล (Relational Database)

(4) รูปแบบและความสัมพันธ์ PATTERNS & RELATIONSHIPS (Pattern & Relationship) 1. ฟีเจอร์ x ปรากฏอยู่ในรูปแบบนี้หรือไม่ ใช่, มีฟีเจอร์ X ปรากฏอยู่ในแนว NW to SE 2. ฟีเจอร์ X กับ Y มีความสัมพันธ์กันหรือไม่ ใช่, Y จะอยู่ใกล้กับ X เสมอ

TRENDS (5)

MODELING “WHAT–IF”(6)

DATA OUTPUT (7)

การจัดเก็บข้อมูลเชิงพื้นที่มีหลักการอย่างไร ตำแหน่งสัมพัทธ์(Relative location) คือ ตำแหน่งที่อ้างอิงวัตถุหรือสถานที่ใกล้เคียง ตำแหน่งสัมบูรณ์ (Absolute location) คือ ตำแหน่งที่กำหนดโดยใช้ระบบพิกัด

โดยทั่วไป ปรากฏการณ์ เหตุการณ์ สิ่งของ วัตถุ กิจกรรม ข้อมูล ณ ช่วงเวลา (Temporal) ของศาสตร์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ประชากร เศรษฐกิจ สังคม วิทยาศาสตร์ วัฒนธรรม ฯลฯ สามารถจัดเก็บเข้าสู่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ได้ทั้งสิ้น ด้วยเงื่อนไขต่อไปนี้

หลักการอ้างอิงหรือความเป็นตัวแทน

2. หลักการจำลองสภาพพื้นที่จริง

3 หลักการอ้างอิงจากเอกสารเชิงภูมิศาสตร์ Data Date : 2510 Picture Source - http://www.rs.psu.ac.th/gis/5duty_gis.htm

9. ความสัมพันธ์ในข้อมูลเชิงพื้นที่ (Topology)

Topology arc-node data structure สามารถสร้างความสัมพันธ์ของ Feature ที่เรียกว่า topological ได้ 3 แนวคิด: 1. Connectivity: Arcs connect to each other at nodes 2. Area definition: Arcs that connect to surround an area define a polygon 3. Contiguity: Arcs have direction and left and right sides

Connectivity

Area definition

Direction

Routes Data Structure

รูปแบบการจัดเก็บข้อมูลเชิงพื้นที่ รูปแบบการจัดเก็บข้อมูลภูมิศาสตร์ ทำได้โดยการสร้างแบบจำลอง เพื่อการแสดงผลข้อมูลวัตถุบนพื้นโลก จากแหล่งข้อมูลภูมิศาสตร์ แผนที่ ภาพถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายจากดาวเทียม หรือ เครื่องกำหนดพิกัดภูมิศาสตร์ด้วยดาวเทียม GPS รายงาน ตาราง เกี่ยวกับข้อมูลภูมิศาสตร์ โดยผู้ใช้งานข้อมูลภูมิศาสตร์จำแนกชั้นข้อมูลเป็นแผนที่เฉพาะเรื่อง (Thematic Map) ซึ่งตัวแทนความปรากฏการบนพื้นที่ ปรากฏการณ์ละ 1 ชั้นข้อมูล (Layer) ผ่าน โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูล ใน 2 ประเภท Raster Vecter

RASTER & VECTOR DATA MODELS

RASTER RESOLUTION

GRIDDING AND LINEAR FEATURE

VECTOR DATA

RASTER VERSUS VECTOR

11. Geo-Informatics คืออะไร การบูรณาการศาสตร์เกี่ยวกับระบบข้อมูลเชิงพื้นที่เพื่อทำงานร่วมกัน Geographic Information System : GIS Remote Sensing : RS Global Positioning System : GPS Information and Communication Technology : ICT

เอกสารอ้างอิง โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และคณะ. 2545. วิถีชุมชน คู่มือการเรียนรู้ที่ทำให้งานชุมชนง่าย ได้ผลและสนุก. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณะสุข Bruce E. Davis. 1996. GIS: A Visual Approach. OnWorld Press. USA. ENVIRONMENTAL SYSTEMS RESEARCH INSTITUTE. 1995. Explore Your World with a Geographic Information System A Teaching Supplement for Grades 5-12 Introducing Basic GIS Concepts and Components. Environmental Systems Research Institute, Inc. USA. ENVIRONMENTAL SYSTEMS RESEARCH INSTITUTE. 2003. Geographic Inquiry : Thinking Geographically. Environmental Systems Research Institute, Inc. USA. http://www.palmbeach.k12.fl.us/Maps/gis/ http://www.rs.psu.ac.th/gis/