โดย อาจารย์ อนุกูล บูรณประทีปรัตน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
Advertisements

ปริศนาภูมิศาสตร์ไทย ชุดที่1 โดยครูแป้น ส. ภ. ตรัง spa. ac
ลักษณะภูมิศาสตร์ภาคใต้
พายุหมุนเขตร้อน TROPICAL STORMS.
จัดทำโดย ด.ญ. ณัชชา เตชะสุขะโต ม. 2/1 เลขที่ 31 ระบบสุริยะ
กำแพงเมืองจีน (ที่มา :
แบบทดสอบ รูปทรงสัณฐานของโลกลักษณะใดทำให้โลกมิได้มีทรงกลมเหมือนลูกปิงปอง ก แกนของโลก เอียง ข มีผิวขรุขระคล้ายผลส้ม ค ขั้วโลกทั้งสองยุบตัวลงเล็กน้อย ง มีพื้นน้ำมากกว่าผิวพื้นดิน.
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
จัดทำโดย นางสาว กนกวรรณ น้อยเจริญ
(Structure of the Earth)
การไหลเวียนของบรรยากาศและน้ำในมหาสมุทร
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
น้ำและมหาสมุทร.
รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy)
ระบบอนุภาค.
ทวีปแอฟริกา เด็กชายวุฒิชัย เพชรฤทธิ์ เลขที่ 2 ม.3.
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
สังคมศึกษา จัดทำโดย ชื่อ ด.ช. พีรวัส เกิดสมนึก เลขที่11 นำเสนอ
จัดทำโดย ด.ช.ชนสรณ์ ศรีงาม เสนอ อ.ฐิตาพร ดวงเกตุ
สังคมศึกษา จัดทำโดย ชื่อ ด.ช. ประพันธ์ คำแผน เลขที10
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
รายงาน เรื่อง โลกดาวเคราะห์บ้านของเรา (ตำแหน่งบนโลก) เสนอ
ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ
กาแล็กซีและเอกภพ.
BY NONGLAK WANSOM Saparachinee School Trang Thailand
ลักษณะภูมิอากาศในทวีปยุโรป
สภาพทางสังคม และ วัฒนธรรม ของทวีปยุโรป
ลักษณะทางกายภาพ ของทวีปแอฟริกา Afica.
ภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
การหาพิกัดภูมิศาสตร์ โครงการส่งเสริมและลดต้นทุนการผลิตข้าว
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
El Nino ดั้งเดิมเป็นคำที่ชาวประมงเปรูใช้ เรียกปีที่มีการจับปลาในทะเลได้เป็นจำนวน มากกว่าปีอื่น ๆ แต่พื้นที่บกบริเวณด้าน ตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิคเกิดภาวะแห้ง.
Deep Low & Tropical Storm. Deep Low & Tropical Storm ( ต่อ )
ทวีปเอเชียน่ารู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เข้าสู่บทเรียน.
คลิกที่ รูป ที่ตั้ง : ประเทศไทย หรือ ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ใน ทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศตะวันออกติด ลาวและกัมพูชา ทิศใต้ติดอ่าวไทยและมาเลเซีย.
โลก (Earth).
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
ดวงจันทร์ (Moon).
โลกและการเปลี่ยนแปลง
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
เกาะสวาดหาดสรรค์มัล ดีฟส์ จัดทำโดย นางสาว ปิยะมาศ อ้นมา คณะโลจิสติกส์
ดาวพลูโต (Pluto).
เรื่อง ธงประเทศต่างๆ ธงชาติไทย ธงชาติเวียดนาม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
พายุ นางสาวศิริลักษณ์ กันสงค์ กลุ่ม 10 รหัส
ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา
สัตว์โลกดึกดำบรรพ์ ที่ยังมีชีวิตอยู่ถึงปัจจุบัน
ดาวเสาร์ (Saturn).
จิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
โรงเรียน เซนต์หลุยส์ศึกษา
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง น้ำแข็งขั้วโลกละลาย
โลกและสัณฐานของโลก.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
ประเทศสิงคโปร์.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย อาจารย์ อนุกูล บูรณประทีปรัตน์ วิชาสมุทรศาสตร์ โดย อาจารย์ อนุกูล บูรณประทีปรัตน์ E-mail : anukul@bucc4.buu.ac.th Homepage : http://www.sci.buu.ac.th/~anukul Introduction

ความหมายของคำว่า “ สมุทรศาสตร์ ” Oceanography มาจาก Ocean + geography มหาสมุทร ลักษณะทางภูมิศาสตร์ * เป็นการศึกษาที่มีเป้าหมายเพื่อทำแผนที่มหาสมุทร Introduction

ดาวดวงอื่นมีน้ำอยู่หรือเปล่า ? น้ำในโลกมาจากไหน ? ดาวดวงอื่นมีน้ำอยู่หรือเปล่า ? จำเป็นต้องทราบว่าโลกหรือดวงดาวต่าง ๆ เกิดมาได้อย่างไร BigBang Expansion Nebula Galaxy, Star Supernova Introduction

ข้อสังเกตบางประการของการเกิดระบบสุริยะจักรวาล ดาวที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มาก ๆ เช่น ดาวพุธ มีองค์ประกอบ เป็นสารโลหะ เช่น เหล็ก ดาวที่อยู่ห่างออกมาจะมีองค์ประกอบเป็นพวกสาร แมกนีเซียม, ซิลิคอน, น้ำ และ ออกซิเจน เพิ่มเข้ามา ดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างออกไปจากดวงอาทิตย์มาก ๆ จะพบ องค์ประกอบเป็นพวกสารมีเทน และ แอมโมเนีย ทำไม ? Introduction

density stratification โลกจึงเป็นโลกอย่างที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน ปัจจัยที่เหมาะสม ทำให้โลกยังคงมีน้ำอยู่จนทุกวันนี้ - ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ - แรงดึงดูดจากมวลของโลก Introduction

ข้อมูลจำเพาะของโลกและมหาสมุทร Land 29.22% , Ocean and Seas 70.78% 149 ล้าน ตร.กม.+ 361 ล้าน ตร.กม. = 510 ล้าน ตร.กม. รัศมีที่ equator 6,378 กม. รัศมีที่ขั้วโลก 6,357 กม. สูงสุดของโลก Mount Everest 8,848 เมตร ลึกสุดของโลก Mariana Trench 11,035 เมตร ความลึกเฉลี่ยของมหาสมุทรในโลก 3,800 เมตร Introduction

ข้อมูลจำเพาะของโลกและมหาสมุทร (ต่อ) มวลของโลก 5,976 x 1021 กก. มวลของทะเลและมหาสมุทร 1.14 x 1021 กก. รัศมีเฉลี่ยของโลก 6,371 กม. ความลึกเฉลี่ย 3.8 กม. ดังนั้น มหาสมุทรเปรียบเป็นแค่ฟิล์มบาง ๆ ที่ห่อหุ้มโลกอยู่ เท่านั้น Introduction

ลักษณะสำคัญของมหาสมุทรต่าง ๆ ในโลก ลักษณะสำคัญของมหาสมุทรต่าง ๆ ในโลก มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรแอตแลนติก และ ทะเลอาร์คติก มหาสมุทรอินเดีย Introduction

มหาสมุทรแปซิฟิก มีขนาดใหญ่ที่สุด มีพื้นที่มากกว่ามหาสมุทรแอตแลนติกและอินเดียรวมกัน ลึกเฉลี่ย 3,940 เมตร และลึกที่สุด มีเหวทะเล (trenches) มาก จุดที่ลึกที่สุดชื่อ Challenger deep อยู่ใน Mariana Trench Pacific Ring of Fires มี Marginal Sea อยู่ทางตะวันตก คือ ทะเลโอโคส (Okhotck) , ทะเลญี่ปุ่น, ทะเลเหลือง, ทะเลจีนตะวันออก, ทะเลจีนใต้ Introduction

มหาสมุทรแอตแลนด์ติก แคบกว่ามหาสมุทรแปซิฟิก มีสันเขากลางมหาสมุทรทอดตัวยาวตลอดแนวมหาสมุทร จากซีกโลกเหนือมายังซีกโลกใต้ มี adjacent seas ได้แก่ Mediteranian, Baltic, North, Norwaygian และ Caribbean sea อยู่ทางด้านตะวันออก ทางด้านตะวันตกมี Gulf of Mexico มีแม่น้ำสายใหญ่หลายสาย เช่น Amazon, Congo และ Mississippi ไหลสู่มหาสมุทร ตื้นที่สุด ลึกเฉลี่ย 3,310 เมตร Introduction

มหาสมุทรอินเดีย พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ใต้ Equator มี Marginal Sea ที่สำคัญคือ Persian Gulf และ Red Sea ลึกเฉลี่ย 3,840 เมตร Introduction

คลิกปุ่มใดๆเพื่อเริ่มต้นใหม่ หรือ กด Back เพื่อย้อนกลับ Introduction