โมเมนตัมและการชน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

สมดุลเคมี.
การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
พิจารณาแก๊ส 1 โมเลกุล ชนผนังภาชนะ 1 ด้าน ในแนวแกน x.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
2.5 Field of a sheet of charge
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
กฎอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงเส้น (Law of Conservation of Linear Momentum)
ข้อตกลงในการเรียน พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับนำไปใช้ในเรื่อง
การวิเคราะห์ความเร็ว
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ ตอนที่ 6
Rigid Body ตอน 2.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
ว ความหนืด (Viscosity)
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ระบบอนุภาค.
เครื่องเคาะสัญญาณ.
Introduction to Statics
Equilibrium of a Particle
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
งานและพลังงาน อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โมเมนตัมและการชน

โมเมนตัม มี 2 ชนิด คือ 1 โมเมนตัมเชิงเส้น ซึ่งนิยมเรียกว่า โมเมนตัม โมเมนตัม มี 2 ชนิด คือ 1 โมเมนตัมเชิงเส้น ซึ่งนิยมเรียกว่า โมเมนตัม 2 โมเมนตัมเชิงมุม ในคอร์สนี้ จะเรียนเฉพาะโมเมนตัมเชิงเส้น

โมเมนตัม(เชิงเส้น) โมเมนตัม มีตัวย่อ เป็นปริมาณเวกเตอร์ โมเมนตัม มีตัวย่อ เป็นปริมาณเวกเตอร์ โมเมนตัมของวัตถุที่ตำแหน่งใด มีขนาดตามสมการ และมีทิศทางเดียวกับทิศความเร็วของวัตถุ ณ ตำแหน่งนั้น อัตราเร็ว หรือขนาดความเร็ว ณ จุดที่จะหาโมเมนตัม

หรือ เขียนสมการเวกเตอร์ ดังนี้ โมเมนตัมมีหน่วยเป็น kg.m/s

วัตถุมีมวล 4 กิโลกรัม เคลื่อนที่ตามสมการ ตัวอย่างที่ 1 วัตถุมีมวล 4 กิโลกรัม เคลื่อนที่ตามสมการ 1 โมเมนตัม ณ เวลาต่าง ๆ 2 โมเมนตัม และ ขนาดโมเมนตัม ณ วินาทีที่ 2

เฉลยตัวอย่างที่ 1 Kg m /s ตอบ

เฉลยตัวอย่างที่ 1 (ต่อ ) เฉลยตัวอย่างที่ 1 (ต่อ ) หา โมเมนตัม ณ วินาทีที่ 2 โดยแทนค่า t = 2 ตอบ Kg m/s ขนาดโมเมนตัม ณ วินาทีที่ 2 คือ Kg m/s หาต่อเองนะจ๊ะ

วัตถุที่มีโมเมนตัมคงที่ มีลักษณะอย่างไร วัตถุที่มีโมเมนตัมคงที่ มีลักษณะอย่างไร ไม่ว่าวัตถุจะเคลื่อนที่ไปอยู่ ณ ตำแหน่งใด โมเมนตัมของวัตถุที่ตำแหน่งนั้น ต้องมีขนาดเท่าเดิม และทิศเหมือนเดิมเสมอ ขนาดโมเมนตัมเท่าเดิม หมายถึงผลคูณ mv เท่าเดิม ( m และ v อาจเปลี่ยนแปลง ) ทิศโมเมนตัมเหมือนเดิม หมายถึง วัตถุต้องเคลื่อนที่แนวตรงไม่ย้อนกลับ

สังเกต ขณะเคลื่อนที่ m และ v อาจเปลี่ยน แต่ mv เท่าเดิม

จริงหรือไม่ 1 ถ้าวัตถุที่มีมวลคงที่ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ โมเมนตัมจะคงที่ด้วย จริงจ๊ะ ๆ 2 ถ้าวัตถุที่มีมวลคงที่ เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่ โมเมนตัมจะต้องคงที่ด้วย ไม่จริง

โมเมนตัมแต่ละอนุภาคอาจเปลี่ยนได้ แต่ผลรวมจะคงที่เสมอ กฎอนุรักษ์โมเมนตัม ถ้าไม่มีแรงภายนอกมากระทำต่อระบบอนุภาค หรือมีแต่ผลรวมแรงภายนอกเป็นศูนย์ ผลรวมของโมเมนตัมของระบบจะคงที่ m2 m1 m3 โมเมนตัมแต่ละอนุภาคอาจเปลี่ยนได้ แต่ผลรวมจะคงที่เสมอ คงที่

ตัวอย่างที่ 2 ยิงลูกปืนมวล 2 กรัม ออกจากกระบอกปืนมวล 3 กิโลกรัม ด้วยความเร็ว 300 เมตรต่อวินาที อยากทราบว่าตัวปืนถูกถีบให้ถอยหลังด้วยความเร็วเท่าใด ( 0.2 เมตรต่อวินาที )

เฉลย ก่อนยิง หลังยิง โมเมนตัมลูกปืน = 0โมเมนตัมปืน = 0 ดังนั้น โมเมนตัมรวม = 0 โมเมนตัมรวมต้อง = 0 แต่โมเมนตัมลูกปืน = 0.6 ไปขวา ดังนั้น โมเมนตัมปืนต้อง = 0.6 ไปช้าย ตอบ ปืนมีความเร็ว 0.2 m/s ไปช้าย

อีกวิธี ใช้หลักพืชคณิตช่วย โมเมนตัมต้องคงที่ โมเมนตัมรวมก่อนยิง = โมเมนตัมรวมหลังยิง (โมเมนตัมตัวปืน+โมเมนตัมลูกปืน)ก่อนยิง = (โมเมนตัมตัวปืน+โมเมนตัมลูกปืน)หลังยิง ปืนกระดอนไปช้าย ความเร็ว 0.2 m/s

นายทักษิณมวล 60 กิโลกรัม นั่งในเรือมวล 40 กิโลกรัม ซึ่งลอยนิ่งในน้ำ ถ้าคนบนฝั่งเห็นนายทักษิณเดินทางไปหัวเรือด้วยความเร็ว 4 เมตรต่อวินาที จะเห็นเรือเคลื่อนที่ไปทางใด ด้วยความเร็วเท่าใด ทำเอง ตอบ 6 m/s ไปช้าย

แรงลัพธ์เป็นศูนย์ ผลรวมโมเมนตัมต้องคงที่

กฎนิวตันในรูปโมเมนตัม จากกฎข้อ 1 ของนิวตัน “ถ้าแรงลัพท์เป็นศูนย์ วัตถุจะอยู่นิ่ง หรือ มีความเร็วคงที่” นั่นคือ วัตถุที่มวลคงที่ถ้ามีแรงลัพธ์เป็นศูนย์ โมเมนตัมจะคงที่แน่นอน วัตถุที่มวลคงที่ ถ้าโมเมนตัมคงที่ วัตถุจะอยู่นิ่งหรือมีความเร็วคงที่ กฎข้อ 1 นิวตัน ถ้าโมเมนตัมคงที่

จากกฎข้อ 2 นิวตัน “ถ้าแรงลัพท์ไม่เป็นศูนย์ วัตถุจะมีความเร็วไม่คงที่ หรือ มีความเร่ง ตามสมการ นั่นคือ วัตถุที่มวลคงที่ ถ้าโมเมนตัมไม่คงที่ จะเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง วัตถุที่มีมวลคงที่ ถ้าโมเมนตัมไม่คงที่ วัตถุจะมีความเร็วไม่คงที่ หรือมีความเร่ง กฎข้อ 2 นิวตัน ถ้าโมเมนตัมคงที่