สถานการณ์ความยากจน ของประเทศไทย รศ.ชวินทร์ ลีนะบรรจง คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ความหมาย เส้นความยากจน(poverty line) เป็นเครื่องมือสำหรับใช้วัดภาวะความยากจน โดยคำนวณจากต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายของปัจเจกบุคคลในการได้มาซึ่งอาหารและสินค้า บริการจำเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต สัดส่วนคนจน คำนวณจากจำนวนประชากรที่มีรายจ่ายเพื่อการบริโภคต่ำกว่าเส้นความยากจน หารด้วย จำนวนประชากรทั้งหมด คูณด้วย 100 จำนวนคนจน หมายถึง จำนวนประชากรที่มีรายจ่ายเพื่อการบริโภคต่ำกว่าเส้นความยากจน
รูปที่ 1 การกระจายตัวของคนจนจำแนกรายภาค ที่มา: ข้อมูลจากการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2550 สำนักงานสถิติแห่งชาติ, ประมวลผลโดยสำนักพัฒนาฐานข้อมูลและตัวชี้วัดภาวะสังคม สคช.
รูปที่ 2 สัดส่วนคนจน(เมื่อวัดจากรายจ่ายเพื่อการบริโภค จำแนกรายภาค 2531-2550 ที่มา: ข้อมูลจากการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2550 สำนักงานสถิติแห่งชาติ, ประมวลผลโดยสำนักพัฒนาฐานข้อมูลและตัวชี้วัดภาวะสังคม สคช.
จังหวัดที่มีสัดส่วนคนจนสูง( % ของประชากรในจังหวัด) รูปที่ 3 จังหวัดที่มีคนจนสูงสุด 10 ลำดับแรก ในปี 2543, 2545 2547, 2549 และ 2550 ลำดับที่ จังหวัดที่มีสัดส่วนคนจนสูง( % ของประชากรในจังหวัด) 2543 2545 2547 2549 2550 1 อุดรธานี (60.6) หนองบัวลำภู (46.4) ตาก (36.9) แม่ฮ่องสอน (52.5) (65.2) 2 สุรินทร์ (57.8) (44.2) สกลนคร (34.3) บุรีรัมย์ (30.7) ศรีษะเกศ (28.7) 3 (51.6) นราธิวาส (42.2) (33.4) (27.1) (28.1) 4 นครพนม (46.9) สระแก้ว (42.1) (26.0) น่าน (20.3) 5 (46.6) (38.6) ชัยภูมิ (32.9) อุบลราชธานี (25.1) (20.0)
จังหวัดที่มีสัดส่วนคนจนสูง( % ของประชากรในจังหวัด) รูปที่ 3 จังหวัดที่มีคนจนสูงสุด 10 ลำดับแรก ในปี 2543, 2545 2547, 2549 และ 2550 (ต่อ) ลำดับที่ จังหวัดที่มีสัดส่วนคนจนสูง( % ของประชากรในจังหวัด) 2543 2545 2547 2549 2550 6 ยโสธร (45.9) แม่ฮ่องสอน (33.8) นครพนม (27.1) สระแก้ว (21.7) (19.9) 7 หนองบัวลำภู (44.4) ศรีษะเกศ (33.1) (24.9) (21.2) ปัตตานี (19.7) 8 นราธิวาส (42.8) บุรีรัมย์ (24.6 ตาก (20.9) สุรินทร์ (19.6) 9 (40.7) เพชรบูรณ์ (33.0) กาฬสินธุ์ (24.6) น่าน (19.3) สุโขทัย 10 อำนาจเจริญ (40.6) ลำปาง (32.7) มุกดาหาร (23.5) (18.6) (17.9) ที่มา: ข้อมูลจากการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2550 สำนักงานสถิติแห่งชาติ, ประมวลผลโดยสำนักพัฒนาฐานข้อมูลและตัวชี้วัดภาวะสังคม สคช.
รูปที่ 4 สัดส่วนและจำนวนคนจนด้านรายจ่าย จำแนกตามสถานภาพเศรษฐกิจของครัวเรือน ปี 2547, 2549 และ 2550
รูปที่ 5 สัดส่วนคนจนด้านรายจ่าย จำแนกตามสถานภาพเศรษฐกิจของครัวเรือนและตามภาค ปี 2550
รูปที่ 6 เปรียบเทียบรายได้ของครัวเรือนยากจนเฉลี่ยต่อเดือน จำแนกรายภาค ปี 2549 และ ปี 2550 ที่มา: ข้อมูลจากการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน สำนักงานสถิติแห่งชาติ, ประมวลผลโดย สำนักพัฒนาฐานข้อมูลและตัวชี้วัดสภาวะสังคม สคช.
รูปที่ 7 ร้อยละของรายได้ทั้งหมดของครัวเรือนยากจน จำแนกตามแหล่งที่มาของรายได้และภาค ปี 2550
รูปที่ 8 ความเหลื่อมล้ำในชีวิตความเป็นอยู่ เมื่อพิจารณาจากรายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค ปี 2531-2550