Revision Problems.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
Advertisements

พรเทพ เบญญาอภิกุล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
การคลังและนโยบาย การคลัง
รหัส หลักการตลาด.
วิกฤตเศรษฐกิจ และ ผลกระทบต่อแรงงาน
กระชุ่มกระชวย ( ) ทศวรรษแห่งการเติบโตสูงสุด :
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
Product and Price ครั้งที่ 8.
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
การบูรณาการของนโยบายการคลัง ( )
การกำหนดนโยบายการคลังและบูรณาการของ 4 หน่วยงานหลัก ( )
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ตลาดและการแข่งขัน.
ระบบบัญชีเดี่ยว.
การเปลี่ยนแปลงทางบัญชี และการแก้ไขข้อผิดพลาด
ตัวอย่างสรุปข้อมูลผลงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่น
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
รัฐวิสาหกิจไทย: อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
SMEs SMALL MEDIUM ENTERPRIS ES วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม ผู้ประกอบการ ในกิจการ อุตสาหกรรม ธุรกิจการเกษตร พาณิชยกรรม ธุรกิจบริการ.
5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
4.3 ความล้มเหลวของตลาด (Market Failure)
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ความไม่แน่นอนปี 2554
เด็กไทยรุ่นใหม่ใส่ใจการออม
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
กรณีศึกษามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 สัญญาเช่า
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
ต้นทุนการผลิต.
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีการผลิต.
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
บทที่ 4 ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Revision Problems

ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ หากผู้ผลิตมีต้นทุนรวมเฉลี่ยของสินค้าเท่ากับราคาสินค้าแล้วผู้ผลิตจะไม่ได้กำไร ท่านเห็นด้วยกับคำกล่าวนี้หรือไม่ เพราะเหตุใด จงใช้ความรู้เรื่องต้นทุนทางบัญชี ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ มาใช้อธิบาย พร้อมวาดภาพประกอบ

เพราะเหตุใดจึงมีคำกล่าวว่าหากผู้ผลิตขาดทุน โดยที่ต้นทุนเฉลี่ยสูงกว่าราคาของสินค้า ผู้ผลิตยังคงผลิตต่อไป จงอธิบายเหตุผลดังกล่าว โดยใช้ความรู้เรื่องต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปร

สมมติว่ากิจการแห่งหนึ่งไม่มีต้นทุนผันแปรเลย เส้น MC จะเป็นอย่างไร และการกำหนดราคาตามทฤษฎีจะเป็นอย่างไร หากกิจการนั้นเป็น ตลาดผูกขาดสมบูรณ์ ตลาดแข่งขันสมบูรณ์

ในการผลิตระยะสั้น เหตุใดจึงเกิดเหตุการณ์ที่เรียกว่า กฎว่าด้วยการลดน้อยถอยลงของผลผลิตเพิ่ม และกฎนี้มีใจความสำคัญอย่างไร

ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ผู้ผลิตสามารถทำกำไรเกินปกติได้หากต้นทุนเฉลี่ยมีค่าต่ำกว่าราคาขายและจะสามารถทำได้ต่อไปเรื่อยๆ ท่านเห็นด้วยกับคำกล่าวนี้หรือไม่ เพราะเหตุใด

GDP และ GNP ของประเทศที่มากกว่าสามารถชี้ว่าคุณภาพชีวิตของพลเมืองจะดีกว่าเสมอ ท่านเห็นด้วยหรือไม่ เหตุใด และอธิบายถึงความแตกต่างระหว่าง GDP และ GNP

หากประเทศ A มี GNP สูงกว่าประเทศ B อย่างมาก แล้วจะสามารถสรุปได้หรือไม่ว่า ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของ A ดีกว่า B เพราะเหตุใด

การที่ GNP ของประเทศหนึ่งมีค่าสูงขึ้นทุกปี อาจไม่ได้แสดงว่าประเทศนี้มีผลผลิตเพิ่มขึ้นทุกปี ขอให้ท่านอธิบายคำกล่าวนี้

“GDP ย่อมมีค่ามากกว่า GNP เสมอ” ท่านเห็นด้วยกับคำกล่าวนี้หรือไม่ เพราะเหตุใด

หากธนาคารแห่งประเทศไทย เพิ่มอัตราสำรองเงินสดที่ต้องดำรงและในขณะเดียวกันก็ลดอัตรารับซื้อช่วงลด ท่านเห็นด้วยกับการกระทำนี้หรือไม่ เพราะเหตุใด จากเหตุการณ์ข้างต้น หาก ธปท. ต้องการเพิ่มปริมาณเงินในระบบ ควรปรับนโยบายอย่างไรจึงเหมาะสม

เพราะเหตุใดจึงกล่าวว่า ภาษีแบบก้าวหน้าและคงที่จึงเป็นนโยบายการคลังแบบไม่ตั้งใจ

จงใช้ความรู้เรื่องของส่วนอัดฉีดและส่วนรั่วไหล อธิบายแนวความคิดของทฤษฎีสามสูบเศรษฐกิจของอาจารย์ป๋วย

“การลดค่าเงินบาทจะส่งผลร้ายต่อการดำเนินธุรกิจ” ท่านเห็นด้วยกับคำกล่าวนี้หรือไม่ และการลดค่าเงินบาทส่งผลกระทบอย่างไรต่อการดำเนินธุรกิจ และหนี้สาธารณะ

หากในต่างประเทศมีการลดอัตราดอกเบี้ย จะส่งผลกระทบอย่างไรต่อการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ อัตราแลกเปลี่ยน และภาวะของตลาดการเงินในประเทศ

“รัฐบาลจำเป็นต้องเลือกใช้นโยบายการเงินและการคลังอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้นเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ” ท่านเห็นด้วยกับคำกล่าวนี้หรือไม่ ยกตัวอย่างประกอบ

ภาวะเงินเฟ้อเกิดจากสาเหตุใด และรัฐบาลสามารถใช้นโยบายการเงินและนโยบายการคลังแก้ไขปัญหานี้อย่างไร

ปัญหาวิกฤติทางเศรษฐกิจในช่วงปี 1997 ที่ประเทศไทยประสบส่วนหนึ่งเกิดจากปัญหาของระบบสถาบันการเงิน ขอให้ท่านอธิบายถึงปัญหาและผลกระทบโดยสังเขป

หากประเทศเพื่อนบ้านมี Comparative Advantage ในสินค้าชนิดเดียวกับไทย ท่านคิดว่าจะมีผลกระทบอย่างไรกับภาคการนำเข้าและส่งออกของไทย และให้ท่านอธิบายคำว่า Comparative Advantage พร้อมยกตัวอย่างประกอบ

เพราะเหตุใด หน่วยผลิตต่างจึงไม่สามารถตั้งราคาเพื่อให้ได้กำไรสูงสุดตามทฤษฎีได้ และตามทฤษฎีจะต้อแงตั้งราคาอย่างไรเพื่อให้ได้กำไรสูงสุด

จงอธิบายถึงกลไกและวิธีสร้างเงินฝากของธนาคารพาณิชย์ และหากต้องการสร้างเงินฝากให้สูงสุดจะต้องมีข้อสมมติฐานอย่างไร

“หากรายจ่ายของรัฐมีค่าสูงกว่ารายรับ รัฐจำเป็นต้องใช้หนี้สาธารณะ” ขอให้ท่านอธิบายความหมายของคำว่า หนี้สาธารณะ ประเภท และผลกระทบที่เกิดขึ้นในการเลือกใช้หนี้สาธารณะแต่ละประเภท

“หากคิดต้นทุนแฝงด้วย อาจพบว่าเกษตรกรขายข้าวในราคาที่ต่ำกว่าต้นทุนรวม” จงอธิบายความหมายของต้นทุนแฝงและต้นทุนรวม และยกตัวอย่างประกอบจากสถานการณ์ข้างต้น

กำไรทางบัญชีย่อมมีค่าไม่น้อยกว่ากำไรทางเศรษฐศาสตร์เสมอ ท่านเห็นด้วยกับคำกล่าวนี้หรือไม่ เพราะเหตุใด ให้ยกเหตุผลประกอบโดยอาศัยความรู้เรื่องต้นทุน