Group Acraniata (Protochordata)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
Advertisements

เรื่อง การเลี้ยงไส้เดือนแดงเพิ่มผลผลิตการเกษตร
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์
สื่อประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ระบบย่อยอาหาร
การย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
Phylum Nematoda สมมาตรแบบ Bilateral symmetry
“ความสุขความเจริญอันแท้จริงนั้น หมายถึง ความสุขความเจริญที่บุคคลแสวงหามาได้ด้วยความเป็นธรรม ทั้งในเจตนาและการกระทำ ไม่ใช่ได้มาด้วยความบังเอิญหรือด้วยการแก่งแย่งเบียดบังมาจากผู้อื่น”
ความทุกข์ที่เกินทน จะหลอมคนให้ทนทาน
เกียรติแห่งความเป็นมนุษย์ มิได้อยู่ที่ไม่เคยพ่ายแพ้เลย
Phylum Annelida อ.แน็ต.
Phylum Porifera อ.แน็ต.
อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia)
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของพืช
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
Cell Specialization.
Electromyography (EMG) and Skeletal muscle contraction
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
ระบบประสาท (Nervous System)
การปฏิสนธิ-ท้อง9เดือน
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
โครงสร้างในการแลกเปลี่ยนก๊าซของสิ่งมีชีวิต
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
การจัดระบบในร่างกาย.
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
ใบ Leaf or Leaves.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
หนอนพยาธิ (Helminth).
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
นำเสนอ อาจารย์วิชัย บุญเจือ จัดทำโดย นางสาวสาวิณี เจิมขุนทด
จัดทำโดย นางสาวสุกานต์ดา เสริมจันทร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์
บทที่ 4 พืชมีการตอบสนอง
การมองเห็น และความผิดปกติของตา
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
นักเรียนเห็นอะไรบ้างค่ะ?
ลักษณะภายนอกของแมลง (General Structures of Insects)
ปีกของแมลง (Insect Wings)
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
โดยเด็กหญิงประกอบ มีมูซอ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/8
โครงสร้างระบบประสาท แบ่งตามตำแหน่งและโครงสร้างได้เป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervousหรือ CNS) ได้แก่ สมองและไขสันหลัง 2. ระบบประสาทรอบนอก.
กำมือ ข้อนิ้วชี้คลึงหนักๆ ที่ด้านข้างกึ่งกลางศีรษะ 5 วินาที 5 ครั้ง
นิ้วกลางไขว้ทับนิ้วชี้ กดมุมกระดูกขากรรไกรล่างซ้ายขวา เบาๆ
หัวใจ Heart นางสาวพัชฎา บุตรยะถาวร ครูผู้สอน
ประเภทของมดน่ารู้.
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน คุณครู อรอุมา พงค์ธัญญดิลก
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
สัตว์โลกดึกดำบรรพ์ ที่ยังมีชีวิตอยู่ถึงปัจจุบัน
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
Class Monoplacophora.
Class Aplacophora.
Class Polyplacophora.
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
บทปฏิบัติการที่ 17 ระบบประสาท (Nervous System)
Kingdom Plantae.
Protochordata – Pisces Lecture General Zooology ภาคปลาย ปีการศึกษา 2560 ผศ.ดร.วิกรม รังสินธุ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Group Acraniata (Protochordata) อ.แน็ต

Phylum Chordata 1. Notochord พัฒนามาจาก mesoderm มีในระยะใดระยะหนึ่งของชีวิต เป็นเซลล์ที่มีโพรงอยู่มาก (vacuolated cell) และมีเยื่อเกี่ยวพันหุ้ม 2. Dorsal hollow nerve cord เส้นประสาทเจริญทางด้านหลัง 3. Pharyngeal gill slits ช่องที่ผนังคอหอย เป็นทางผ่านของน้ำออกจากคอหอย 4. Post-anal tail หางจะมีในระยะใดระยะหนึ่งของชีวิต

Group Acraniata (Protochordata) Subphylum Urochordata Subphylum Cephalochordata Group Craniata Subphylum Vertebrata - Superclass Agnatha - Superclass Gnathostomata

Subphylum Urochordata (Tunicata) เป็นสัตว์ทะเลทั้งหมด notochord พบในระยะตัวอ่อน ส่วนใหญ่เป็นสัตว์เกาะติด อาจอยู่เดี่ยวหรือเกาะกลุ่ม ตัวเป็นถุงและมีช่องเปิด 2 ช่อง เมื่อถูกรบกวนจะหดตัวและฉีดน้ำออก ผนังถุงที่หุ้มอวัยวะภายในเรียกว่า tunic มีช่องเปิดให้น้ำเข้า (incurrent siphon) ขนาดใหญ่อยู่เหนือช่องน้ำออก (excurrent siphon) น้ำและอาหารผ่านเข้าปากไปตามท่อทางเดินอาหาร น้ำออกจาก gill slit เข้าสู่ atrium รอบคอหอยและออกทางช่องน้ำออก

Adult Larva

Subphylum Cephalochordata คล้ายปลาแต่ไม่มีครีบข้าง ตัวโปร่งแสง ท้ายเรียวแหลม ไม่มีสมอง ด้านท้องของหัวคล้ายกรวยลึกเรียกว่า vestibule, เยื่อรอบ vestibule คือ oral hood มี oral tentacle อยู่ที่ขอบ ด้านหลังมี dorsal fin ยาวเกือบตลอดตัว ตอนท้ายแผ่ออกเป็นครีบหาง (caudal fin) ที่ fin มีโครงร่างค้ำจุนภายในเรียงตัวในครีบเป็นแนวยาวเรียกว่า fin ray ชอบฝังตัวตั้งตรงในทราย มีเฉพาะส่วนหัวโผล่พ้นทราย

2 cm

Body wall Epidermis เป็นเซลล์ผิวชั้นเดียว Longitudinal muscle ที่แบ่งเป็นปล้องๆรูปตัว< กล้ามเนื้อแต่ละปล้องแยกกันด้วยผนังของเยื่อเกี่ยวพัน Peritoneum บุด้านในของกล้ามเนื้อ

Nutrition Mouth อยู่กึ่งกลางเยื่อ velum ที่ตอนท้าย vestibule รอบปากด้านในมี velar tentacle ช่วยกรองไม่ให้วัตถุหยาบผ่านปาก รวมทั้งมี wheel organ ที่ oral hood ช่วยโบกน้ำให้หมุนวน Pharynx ขนาดใหญ่แบนด้านข้าง ผนังด้านข้างมีช่องเปิดตามยาวคือ gill slit Intestine ท่อยาวเปิดที่ส่วนท้ายบริเวณครีบหางด้านซ้ายลำตัว ตอนต้นมีแขนงยื่นไปด้านหน้าข้างขวาสร้างน้ำย่อยคือ hepatic cecum

Skeleton and Nerve Notochord เป็นแท่งค้ำจุนร่างกาย เจริญทางด้านหลังเหนือทางเดินอาหารและยาวตลอดตัว Dorsal nerve cord อยู่ด้านหลังและขนานไปกับ notochord ในเส้นประสาทมี eye spot รับแสงและเรียงตลอดความยาว จุดตาด้านหน้ามีขนาดใหญ่และพบหนาแน่นกว่าที่อื่น

Pikaia – 530 million years ago