ข้อผิดพลาดของโปรแกรม และตัวดำเนินการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
Advertisements

Introduction to C Introduction to C.
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
BC320 Introduction to Computer Programming
ไวยากรณ์ของภาษาการทำโปรแกรม (2) (Syntax of programming languages)
Control Statement if..else switch..case for while do-while.
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
โครงสร้างควบคุมและคำสั่งแบบเงื่อนไข
C Programming Lecture no. 4 กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
Microsoft Excel 2007.
อสมการ.
บทที่ 2 Operator and Expression
คำสั่งแบบเลือกทำ Week 6.
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
PHP LANGUAGE.
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
การเขียนโปรแกรม ASP การประกาศตัวแปร
ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น.
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
Operators ตัวดำเนินการ
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ตัวดำเนินการ(Operator)
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมแบบ Structured Programming และการจัดการตรวจสอบข้อผิดพลาด.
Chapter 3 เครื่องหมายและการคำนวณ
บทที่ 3 ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ง40208 การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
นิพจน์และตัวดำเนินการ
ตัวดำเนินการในภาษาซี
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
การใช้ Word เพื่อการคำนวณ
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
บทที่ 8 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
คำสั่งควบคุมขั้นตอน Flow control statements
Operators ตัวดำเนินการ
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ 7 เงื่อนไขในภาษาซี
บทที่ 5 รหัสควบคุมและ การคำนวณ C Programming C-Programming.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
Debugging กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
CHAPTER 2 Operators.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อผิดพลาดของโปรแกรม และตัวดำเนินการ Hand out 3 ข้อผิดพลาดของโปรแกรม และตัวดำเนินการ ( Error and Operator ) By Sasithorn suchaiya

ข้อผิดพลาดของโปรแกรม (Error) ในการเขียนโปรแกรมและคอมไพล์อาจมีข้อผิดพลาดขึ้นได้ ถ้าหากคอมพิวเตอร์พบข้อผิดพลาดต่าง ๆ มันจะไม่สามารถทํ าโปรแกรมต่อไปได้ โดยทั่วไปแล้วข้อผิดพลาดของโปรแกรมมีสามลักษณะคือ 1. Syntax 2. Run-time 3. Logical

ข้อผิดพลาดของโปรแกรม (Error) Syntax Error ข้อผิดพลาดประเภทนี้เกิดจากการเขียนโปรแกรมไม่เป็นไปตามข้อกําหนด เช่น 1. ขาดเครื่องหมายไปบางประเภท 2. เขียนโปรแกรมที่มีรูปแบบไม่ตรงตามข้อกําหนด 3. ประกาศตัวแปรผิดพลาด โดยจะมีการแจ้งข้อผิดพลาดตอนคอมไพล์โปรแกรม พิจารณาตัวอย่างโปรแกรมต่อไปนี้

Syntax Error

ข้อผิดพลาดของโปรแกรม (Error) Syntax Error ในการเขียนโปรแกรมข้างต้นจะเกิด syntax error ขึ้น เนื่องจากเขียนโปรแกรมไม่ถูกต้องตามข้อกําหนด โดย ข้อผิดพลาดที่ 1 จะเห็นว่าสะกด integer ผิด ข้อผิดพลาดที่ 2 จะขาดเครื่องหมาย semicolon (;) ข้อผิดพลาดที่ 3 จะขาดเครื่องหมาย quote mark โดยทั่วไปแล้วเมื่อเกิดข้อผิดพลาดประเภทนี้ คอมไพล์เลอร์จะแจ้งข้อผิดพลาดและแสดง เคอร์เซอร์ ที่ตําแหน่งนั้น เมื่อแก้ไขให้ถูกต้องจะทําให้คอมไพล์ต่อไปได้

ข้อผิดพลาดของโปรแกรม (Error) Run – Time - Error เป็นข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นตอนรันโปรแกรม บางครั้งจะเรียกข้อผิดพลาดนี้ว่า execution error ตัวอย่างเช่นถ้ามีการเขียนโปรแกรมดังต่อไปนี้

ข้อผิดพลาดของโปรแกรม (Error) Run – Time - Error เมื่อโปรแกรมทํางานจะเกิดการหารด้วยค่าศูนย์ขึ้น โดยโปรแกรมจะแจ้งข้อความ division by zero ออกมาทางจอภาพ

ข้อผิดพลาดของโปรแกรม (Error) Logical Error ข้อผิดพลาดแบบนี้จะเกิดจากการออกแบบโปรแกรม โดยจะไม่มีการแจ้งข้อผิดพลาดออกมาทางคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างเช่นถ้าหากเราต้องการหาค่าเฉลี่ยของการบวกกันของตัวแปร B กับ C และเขียนโปรแกรมให้ทํางานเป็น

ข้อผิดพลาดของโปรแกรม (Error) Logical Error ถ้าหากค่าใน B เป็น 60 และค่าใน C เป็น 80 ผลที่ได้จะมีค่าเท่ากับ 100 ซึ่งคอมพิวเตอร์คํานวณได้ถูกต้อง แต่การเขียนโปรแกรมนั้นถูกออกแบบมาผิด ถ้าหากต้องการให้คอมพิวเตอร์หาค่าเฉลี่ย ในกรณีนี้จะต้องให้ B บวกกับ C อยู่ในวงเล็บสําหรับ กรณีที่ใช้ประเภทของตัวแปรไม่ถูกต้อง เช่นประกาศตัวแปรเป็น Integer และให้ตัวแปรนั้นเก็บค่าที่มากกว่า 32767 ก็เป็นข้อผิดพลาดประเภทนี้เช่นกัน

ตัวดำเนินการ(Operation) ในการเขียนโปรแกรมตัวดําเนินการ จะเป็นตัวที่ทําหน้าที่รวมค่าต่าง ๆ และ กระทํากับค่าต่าง ๆ ให้เป็นค่าเดียวกัน อย่างเช่นในโปรแกรมในบทที่ผ่านมามีการนําข้อมูลที่เป็นตัวแปรมาคูณกับค่าคงที่ ซึ่งจะต้องใช้ตัวดําเนินการทางคณิตศาสตร์เพื่อทําการคูณ ตัวดําเนินการมี 4 ประเภทดังนี้ ( ในหนังสือที่อ่านอาจมีมากกว่า 4 ประเภทก็ได้ ) 1 ตัวดําเนินการเลขคณิต 2 ตัวดําเนินการเปรียบเทียบ 3 ตัวดําเนินการทางตรรกะ (Logical Operator) 4 ตัวดําเนินการระดับบิต (Bitwise Operator) ไม่สอน

1. ตัวดําเนินการเลขคณิต ใช้สําหรับกระทําการคํานวณทางคณิตศาสตร์ เช่นบวก ลบ คูณ หาร โดยจะนําข้อมูลตัวหนึ่งไปกระทํากับอีกตัวหนึ่ง โดยให้ผลลัพธ์เป็นตัวเลขทางคณิตศาสตร์ ตัวดําเนินการทางคณิตศาสตร์แบ่งออกได้ดังต่อไปนี้

1. ตัวดําเนินการเลขคณิต

1. ตัวดําเนินการเลขคณิต คําถาม หลังจากคอมพิวเตอร์ทําคําสั่งต่อไปนี้ เอาต์พุตที่ได้จะเป็นอย่างไร ก. 26 MOD 4 ข. 26 DIV 4 ค. 26 / 4 คําถาม ในการทําคําสั่งต่อไปนี้ ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นอย่างไร ก. 1 + 2 * 3 + 4 ข. 6 + 4 / 2 + 3 ค. 2 / 3 * 4 คําถาม พิจารณาโปรแกรมดังนี้ 2 + 3 * 4 จะมีค่าเท่ากับ 20 เพราะ (2 + 3) * 4 หรือเท่ากับ 14 เพราะ 2 + (3 * 4)

2. ตัวดําเนินการเปรียบเทียบ ตัวดําเนินการเปรียบเทียบ (Relation Operators) จํานวน ข้อมูลสองค่ามาเปรียบเทียบกัน โดยข้อมูลทั้งสองค่า จะต้องเป็นข้อมูลประเภทเดียวกัน ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็น ค่าจริงหรือเท็จ

2. ตัวดําเนินการเปรียบเทียบ

3. ตัวดําเนินการทางตรรกะ (Logical Operator)

ข้อสังเกตุ ถ้าหากในประโยคภาษาปาสคาลมีการใช้ตัวดําเนินการหลายตัว ภาษาปาสคาลจะจัดลําดับความสําคัญการทํางานก่อนหลังดังต่อไปนี้

3. ตัวดําเนินการทางตรรกะ (Logical Operator) ตัวอย่าง การกระทําต่อไปนี้ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นจริงหรือเท็จ ถ้า X = 6 , Y = 13 และ Z = 4.2 ( ( X < > Y DIV 2) OR (Z <= Y) AND ( NOT (Z = X / 2) )

3. ตัวดําเนินการทางตรรกะ (Logical Operator) วิธีคิด ( (6 < > 13 DIV 2) OR (4.2 <= 13) AND (NOT (4.2 = 6 / 2) ) ( (6 < > 6) OR (4.2 <= 13) AND (NOT (4.2 = 6 / 2) ) (false) OR true) AND true true

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 3. จงหาผลลัพธ์จากการทําต่อไปนี้ 3.1 8 * 6 / 3 * 4 3.3 (8 * 6) / 3 * 4 3.2 8 * 6 / (3 * 4) 3.4 1 + 4 * 6 + 8 / 4 + 4 4. ถ้าหาก a = 49 , b = 5 และ C = 3 จงบอกผลลัพธ์จากการทํางานต่อไปนี้ 4.1 a MOD b * c + 1 4.4 a MOD (b * c) + 1 4.2 24 / c * 4 4.5 a DIV b MOD 2 4.3 7 + 2 div c – 1 4.6 48 / (c * 2) * 4

Take home Sec A ส่งงานวันพุธที่ 10 กันยายน 2551 ในคาบ Sec B ส่งงานวันพุธที่ 10 กันยายน 2551 ในคาบ Sec c ส่งงานวันพฤหัสที่ 11 กันยายน 2551 ในคาบ คำสั่ง 1. อ่านบทที่ 5 เรื่อง หัวข้อที่ 5.3 รูปแบบและการแสดงผล หัวข้อที่ 5.4 ฟังก์ชั่นทางคณิตศาสตร์ หัวข้อที่ 5.5 ฟังก์ชั่นและตัวอักขระ หัวข้อที่ 5.6 ตัวดำเนินการ + 2. ทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5