การจัดระเบียบทางสังคม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
Advertisements

สถาบันศาสนา.
กับทิศทางการพัฒนาสังคมไทย
การจัดระเบียบสังคม Social Organization
การกระทำทางสังคม (Social action)
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
การบริหารกลุ่มและทีม
การขัดเกลาทางสังคม (socialization)
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
เนื้อหา (กลางภาค) พฤติกรรมมนุษย์ การขัดเกลาทางสังคม
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
“คุณธรรม” และ “จริยธรรม”
ความหมาย ลักษณะและความสำคัญของวัฒนธรรม
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 7
พัฒนาข้าราชการบรรจุใหม่อย่างเป็นระบบ (The Civil Service Academy)
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
พัฒนาการความสัมพันธ์จากครอบครัวสู่รัฐ
The General Systems Theory
Social Organization เพื่อควบคุมแบบแผนแห่งพฤติกรรมของมนุษย์
หัวข้อรายงาน บทบาทหน้าที่ของปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำตำบลในเขตพื้นที่อำเภอยะรัง ณ ที่ว่าการอำเภอยะรัง อ.ยะรัง จ. ปัตตานี
การปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
ปัญหาความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ผู้สอน อ.ดร.อิศรัฏฐ์ รินไธสง
“การพัฒนากลุ่มเกษตรกรที่ร่วมโครงการฯ ให้เกิดความเข้มแข็ง”
สถาบันการศึกษากับสถาบันอื่นๆในสังคม
การจัดการศึกษาในชุมชน
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมทางสังคม
กลุ่มในองค์การ Group in Organization
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
คุณธรรม ***** สภาพคุณงามความดี
การนำนโยบายจรรยาบรรณ ลงสู่การปฏิบัติในระดับคณะ/หน่วยงาน
(Organizational Behaviors)
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
ค่าใช้จ่ายในการจ้างเอกชนดำเนินงาน
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของ ผู้ตรวจราชการและหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ สุรศักดิ์ แสงอร่าม รองเลขาธิการ ส.ป.ก. 21 ต.ค
ความรับผิดชอบ ในวิชาชีพ
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
The Five Bases of Power.
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
การบริหารราชการแผ่นดิน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
หลักการแบ่งแยกอำนาจ และสถาบันทางการเมือง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสาธารณสุข
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
การจัดการงานบุคคลของสหกรณ์ออมทรัพย์
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
บทที่ 2 การจัดองค์กรขาย
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
การแบ่งแยกกฎหมายมหาชนและกฎหมายเอกชน
กลุ่ม 9 การพัฒนา บุคลากรของ สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร.
การจัดระเบียบทางสังคม ในสังคมอยุธยา
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดระเบียบทางสังคม ความหมายและองค์ประกอบ 1.บรรทัดฐาน (Norms) วิถีประชา จารีต กฎหมาย 2.การควบคุมทางสังคม (Social control) 3.สถานภาพ (Status) รูปแบบการจัดระเบียบทางสังคม แบบเครือญาติ แบบนายกับบ่าว แบบสถานภาพ แบบพันธะสัญญา แบบระบบราชการ

การจัดระเบียบทางสังคม ความหมาย กฎเกณฑ์/ระเบียบแบบแผนที่เกี่ยวข้องกับ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและกลุ่ม เพื่อการดำรงอยู่ของสังคม

การจัดระเบียบทางสังคม องค์ประกอบ 1.บรรทัดฐาน/ปทัสถาน (Norms) - วิถีประชา (folkways) - จารีต/ประเพณี (mores) - กฎหมาย ( laws) 2.การควบคุมทางสังคม (Social control) 3.สถานภาพ (Status)

การจัดระเบียบทางสังคม บรรทัดฐาน/ปทัสถาน (Norms) กฎ กติกา มารยาท ระเบียบ แนวทาง การปฏิบัติตนให้เหมาะสมสำหรับ การอยู่ร่วมกันในสังคม มาตรฐานที่กำหนดว่าอะไรถูก/ผิด ควรกระทำ/ไม่ควรกระทำ

การจัดระเบียบทางสังคม วิถีประชา แนวทางการดำเนินชีวิตประจำวัน ของคนในสังคมนั้นที่ปฏิบัติกันมา จนเคยชิน

การจัดระเบียบทางสังคม จารีต/ประเพณี กฏเกณฑ์ข้อห้ามที่กระทบ ต่อความเชื่อทางศีลธรรม

การจัดระเบียบทางสังคม กฎหมาย ข้อบังคับอย่างเป็นทางการ เพื่อควบคุมพฤติกรรมคนในสังคม มีองค์กรของรัฐเป็นผู้ควบคุม ได้แก่ ตำรวจ อัยการ ผู้พิพากษา ผู้คุม

การจัดระเบียบทางสังคม การควบคุมทางสังคม (Social control) 1.การให้รางวัล 2.การลงโทษ 3.การอบรมปลูกฝังจนเกิดจิตสำนึก ในการควบคุมตนเอง

การจัดระเบียบทางสังคม รูปแบบการจัดระเบียบทางสังคม แบบเครือญาติ แบบนายกับบ่าว/ศักดินา แบบสถานภาพ แบบพันธะสัญญา แบบระบบราชการ

การจัดระเบียบทางสังคม สถานภาพ (Status) ตำแหน่ง/ฐานะที่ได้จากการเป็น สมาชิกของสังคม 1.โดยกำเนิด 2.โดยความสามารถ

การจัดระเบียบทางสังคม สถานภาพกับบทบาท บุคคลมีสถานภาพใด จะต้องปฏิบัติหน้าที่ ความรับผิดชอบที่กำหนด เรียกว่า บทบาท 1.บทบาทในอุดมคติ 2.บทบาทที่บุคคลเข้าใจ/รับรู้ 3.บทบาทที่แสดงออกจริง

การจัดระเบียบทางสังคม สถานภาพกับการแบ่งชั้นทางสังคม สถานภาพแสดงถึงระดับหรือชั้นทางสังคม ว่าอยู่ในระดับสูงหรือต่ำ มักจัดไว้เป็นคู่ๆ เช่น -บิดามารดากับบุตร -ครูอาจารย์กับนิสิต -รุ่นพี่กับรุ่นน้อง -ตำรวจกับประชาชน -นายจ้างกับลูกจ้าง

การจัดระเบียบทางสังคม แบบระบบราชการ (Bureaucracy) สมาชิกจะเข้าอยู่ร่วมในองค์กรขนาดใหญ่ ดำเนินชีวิตภายใต้กฎเกณฑ์ (มากมาย...) แต่ละคนจะถูกแยกไปตามหน้าที่เฉพาะด้าน มีความสัมพันธ์ตามระบบสายงาน มีการปกครองตามลำดับชั้น (hierarchy) มีสายการบังคับบัญชา (chain of command)

การจัดระเบียบทางสังคม การบริหารราชการแผ่นดินของไทย กระทรวง การบริหารราชการแผ่นดินของไทย กรม กอง แผนก ฝ่าย

การจัดระเบียบทางสังคม การบริหารราชการในมหาวิทยาลัย เลขา สกอ. การบริหารราชการในมหาวิทยาลัย อธิการบดี คณบดี หัวหน้าภาค อาจารย์