การให้คำปรึกษา ผศ.ดร.สมบัติ ตาปัญญา ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ file: counseling
การให้คำปรึกษาคืออะไร? การช่วยให้ผู้รับคำปรึกษาได้ใช้ศักยภาพของตนเองอย่างเต็มที่ ไม่ใช่การบำบัดรักษาความผิดปกติ ไม่ใช่การให้คำแนะนำสั่งสอน ไม่จำกัดอยู่เพียงการแก้ปัญหา เป็นกระบวนการพัฒนาตนเอง file: counseling
หลายระดับของการให้คำปรึกษา รับฟังความในใจ ระบายความกังวล ให้ข้อมูล พิจารณาทางเลือกต่างๆ ในการตัดสินใจ เข้าใจตนเอง พัฒนาตนเอง file: counseling
กระบวนการให้บริการปรึกษา การสร้างสัมพันธภาพ การสำรวจปัญหา การเข้าใจปัญหา การวางแผนแก้ไขปัญหา การยุติการให้บริการ การติดตามผล file: counseling
ลักษณะของผู้ให้บริการปรึกษาที่ดี มีความอบอุ่น ไม่แฝงความอยากครอบงำ มีความจริงใจ เป็นธรรมชาติ ยอมรับ ให้เกียรติผู้ขอคำปรึกษาอย่างไม่มีเงื่อนไข มีความเข้าใจผู้ขอคำปรึกษาอย่างลึกซึ้ง มีสติ ตระหนักในความเป็นปัจจุบัน มองปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม file: counseling
ความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง (empathy) เข้าไปอยู่ในโลกของเขาได้ ยังคงความเป็นตัวเองอยู่ สื่อให้เขารู้ได้ว่าเข้าใจ file: counseling
ทักษะการใส่ใจ การถาม การทวนความ การสะท้อนความรู้สึก การตีความให้กระจ่าง การสรุปความ การใช้ความเงียบให้เป็นประโยชน์ file: counseling
การฟังเพื่อการให้คำปรึกษา file: counseling
ภาษาท่าทางที่เหมาะสม นั่งข้างๆ เป็นมุมฉาก ท่าทางเปิดเผย เอนตัวไปข้างหน้า สบตา สงบ ผ่อนคลาย file: counseling
จรรยาบรรณในการให้คำปรึกษา ข้อมูลทุกอย่างต้องเก็บรักษาเป็นความลับ ความสัมพันธ์ต้องจำกัดอยู่เฉพาะในเรื่องการให้คำปรึกษา รู้ข้อจำกัดของตนเองในการให้คำปรึกษา ไม่ทำในสิ่งที่ทำไม่ได้หรือไม่รู้ เมื่อจำเป็นควรส่งปรึกษาต่อ บันทึกข้อมูลทุกอย่างหากจะเปิดเผยต้องได้รับการยินยอม จากเจ้าของเสียก่อน file: counseling
จรรยาบรรณในการให้คำปรึกษา ไม่ตัดสินผู้รับบริการในเชิงศีลธรรม ไม่พยายามยัดเยียดความเชื่อทางศาสนา ปรัชญาชีวิต วิถีชีวิต การเมือง ไม่ระแวงสงสัยในทางร้าย ต้องคอยทบทวนสถานการณ์เสมอว่า “การให้คำปรึกษานี้เพื่อใคร?” file: counseling