NAMA (Non-Agricultural Market Access)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนนำทางส่งออกไทย: โอกาสใหม่ในความท้าทาย
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
นโยบายการเปิดเสรีทางการเงินโลก
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
ประเทศไทยได้ประโยชน์และเสียประโยชน์อะไรจาก (AFTA)
สรุปประเด็นกลุ่ม 1 การเตรียมการและการ กำหนดท่าทีในการเจรจา ต่อรองในระดับสากล.
ดร.อัศนีย์ รัตนมาลัย โดย อดีต : ผู้อำนวยการสถาบันยุทธศาสตร์การค้า
กรอบเจรจา Rubber-Based Product Working Group (RBPWG)
หลักปฏิบัติที่ดีด้านการกำหนด การรับมาใช้ และการใช้มาตรฐาน
โดย นางภัทรพร เพ้งหล้ง นักวิชาการมาตรฐาน 7 ว สำนักบริหารมาตรฐาน 1
ภาพรวม ระบบการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ ของประเทศญี่ปุ่น
สัดส่วนของการส่งออก/GDP
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
การค้ามนุษย์.
การพัฒนาการปิด การเจรจาต่อรอง
Free Trade Area Bilateral Agreement
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
ความเป็นมาของไทยกับ AFTA
บรรยาย เรื่อง AEC Asean Economic Community
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
เครื่องหมายสินค้ามาตรฐานสหกรณ์
การเตรียมการของประเทศไทยเพื่อรองรับการค้าเสรี
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
การเตรียมการและการกำหนดท่าทีในการเจรจาต่อรองในระดับสากล
ยุทธศาสตร์ของไทยต่อการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและทวิภาคี
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ โครงการ การบริหารงบประมาณตามแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานทุกหน่วยงานใช้เงินงบประมาณ ทันเวลา.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การตรวจสอบและรับรอง- คำศัพท์และหลักการทั่วไป (มอก )
กรอบความร่วมมือด้านผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป
กรอบการเจรจาจัดทำ ความตกลงยอมรับร่วมด้านการมาตรฐาน สาขาผลิตภัณฑ์ยานยนต์ โดย นายไชยวัฒน์ ตั้งเกริกโอฬาร สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 28 กันยายน 2553.
กรอบการเจรจาความตกลงด้านมาตรฐาน และการตรวจสอบและรับรอง ภายใต้คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน (ASEAN Consultative Committee for Standards.
สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
ความรู้พื้นฐานด้านการมาตรฐาน
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น
ประเด็นนำเสนอ กลุ่ม Cairns - ความเป็นมา - สมาชิกในกลุ่ม
The Thai Chamber of Commerce and Board of Trade of Thailand
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางในการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน.
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การตอบข้อหารือเกี่ยวกับเคมีภัณฑ์/ผลิตภัณฑ์ที่อาจเป็นสารควบคุมตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีหน้าที่รับผิดชอบ.
วิเคราะห์ความขัดแย้งจากบทความ
การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
ภญ. อมรา วงศ์พุทธพิทักษ์ ที่ปรึกษาอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
การสื่อสารและ โทรคมนาคมของไทยกับ การเปิดเสรี นางสาวชุติมา บุณยประภัศร ที่ปรึกษาการพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์
รองประธานกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
การสัมมนา เรื่อง เอฟทีเอ : ไทยได้ประโยชน์แค่ไหน โดย ปลัดกระทรวงพาณิชย์ (นายการุณ กิตติสถาพร) ณ ห้องจามจุรี โรงแรมปทุมวันพริ้นซ์เซส วันพุธที่ 25 สิงหาคม.
ไทยได้ประโยชน์อะไร จากการเปิดเสรีอาเซียน-จีน
เขตการค้าเสรี ไทย-อินเดีย
ดร. กุลยา ตันติเตมิท สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง 29 กรกฎาคม 2547
TAFTA: การลดภาษีศุลกากรของไทย ปิโตรเคมี และผลิตภัณฑ์พลาสติก
ความตกลงการค้าเสรีไทย-ออสเตรเลีย
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม การเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันเพื่อการส่งออก
Non-Agricultural Market Access: NAMA
สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง กุมภาพันธ์ 2549
เคลื่อนทัพส่งออก : มุมมองใหม่ โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2551 รายเดือน จดหมายข่าว Food Safety ประจำเดือนนี้ ขอเสนอเรื่องที่ทำให้ กรมส่งเสริมการเกษตรได้มี หนังสือให้เขต ศูนย์ปฏิบัติการ.
4.3 ความล้มเหลวของตลาด (Market Failure)
ลักษณะสำคัญของการซื้อขายล่วงหน้า
ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ 10/2552 เรื่อง ประเภท ขนาด เงื่อนไข และสิทธิประโยชน์ของแต่ละประเภทกิจการ ที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ทิศทางการพัฒนาการเกษตรไทย
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
กฎบัตรอาเซียน และ อาเซียนบลูปรินส์
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

NAMA (Non-Agricultural Market Access) การเปิดตลาดสินค้าอุตสาหกรรมและประมง 29 ธันวาคม 2552 กลุ่มองค์การการค้าโลก สำนักบริหารมาตรฐานระหว่างประเทศ

ที่มา... อุปสรรคของการเปิดเสรีทางการค้า ภาษี กฎระเบียบของประเทศต่างๆ

ปฏิญญารัฐมนตรีโดฮา (Doha Ministerial Declaration) แก้ไขความยุ่งยากในการเข้าสู่ตลาด ของกันและกัน - กำหนดการเข้าสู่ตลาดสำหรับสินค้าอุตสาหกรรมและประมง ไม่รวมสินค้าเกษตรอื่น

วัตถุประสงค์ของการเจรจา NAMA ลดหรือเลิก ภาษีศุลกากร มาตรการที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff Barriers) ครอบคลุมสินค้าทุกรายการ ไม่มีการยกเว้น (แต่ไม่รวมเกษตร) คำนึงถึงผลประโยชน์และสิทธิพิเศษของประเทศกำลังพัฒนาและพัฒนาน้อยที่สุด

กลไกการดำเนินงาน กลุ่มเจรจา NAMA เป็นผู้ดำเนินการเจรจา ผลการเจรจาจะต้องเป็นระดับฉันทามติ ข้อเสนอที่ได้รับการยอมรับจะรวมไว้เป็นภาคผนวกของ Agreement ที่เกี่ยวข้อง มีผลผูกพันกับสมาชิกทั้งหมด

ขั้นตอนการดำเนินงาน Committee on Market Access สมาชิกจัดทำข้อเสนอที่เป็นปัญหาของ ผู้ส่งออกในการเข้าตลาด จัดให้มีการเจรจา รายงานผลให้ Council on Trade in Goods

ข้อเสนอในการเปิดตลาด ลำดับที่ ข้อเสนอ ประเทศผู้เสนอ 1 Ministerial Decision on Procedures for the Facilitation of Solution to Non-Tariff Barrier กลุ่มแอฟริกา แคนาดา สหภาพยุโรป กลุ่มประเทศ LDC กลุ่ม NAMA-11 นิวซีแลนด์ นอร์เวย์ ปากีสถาน และสวิตเซอร์แลนด์ 2 Negotiating Proposal on Non-Tariff Barriers in the Chemical Products and Substances Sector อาร์เจนติน่า 3 Understanding on the Interpretation of the Agreement on Technical Barriers to Trade as Applied to Trade in Firework จีน 4 Understanding on the Interpretation of the Agreement on Technical Barriers to Trade as Applied to Trade in Lighter products 5 Decision on the Elimination of Non-Tariff Barriers Imposed as Unilateral Trade Measures คิวบา 6 Understanding on the Interpretation of the Agreement on Technical Barriers to Trade as Applied to Trade in Electronics สหภาพยุโรปและสวิตเซอร์แลนด์ 7 Revised Submission on Export Taxes สหภาพยุโรป

ข้อเสนอในการเปิดตลาด (ต่อ) ลำดับที่ ข้อเสนอ ประเทศผู้เสนอ 8 Understanding on the Interpretation of the Agreement on Technical Barriers to Trade with Respect to the Labelling of Textiles, Clothing, Footwear and Travel Goods สหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกา 9 Protocol on Transparency in Export Licensing to the General Agreement on Tariffs and Trade 1994 ไต้หวัน ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และเกาหลีใต้ 10 Decision on Non-Tariff Barriers Affecting Forestry Products Used in Building Construction นิวซีแลนด์ 11 Agreement on Non-Tariff Barriers Pertaining to the Electrical Safety and Electromagnetic Compatibility (EMC) of Electronic Goods สหรัฐอเมริกา 12 Ministerial Decision on Trade in Remanufactured Goods ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกาและสวิตเซอร์แลนด์ 13 Agreement on Non-Tariff Barriers Pertaining to Standards, Technical Regulation and Conformity Assessment Procedures for Automotive Products สหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป

สถานะปัจจุบันของการเจรจาที่เกี่ยวข้องกับ สมอ. อยู่ระหว่างการเจรจารวม 6 ข้อเสนอ ลำดับที่ ข้อเสนอ ประเทศ ผู้เสนอ สาระข้อเสนอ ท่าทีของประเทศไทย 1 สินค้าใช้แล้ว (Remanufactured goods) สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น สวิตเซอร์แลนด์ ห้ามไม่ให้ประเทศสมาชิกกำหนดข้อห้ามหรือข้อจำกัดในการนำเข้าสินค้า Remanufactured ที่ขัดกับความตกลง WTO - ไม่รับข้อเสนอ

และ Third Party โดยห้ามการตรวจสอบซ้ำโดยหน่วยงานของประเทศผู้นำเข้า ลำดับที่ ข้อเสนอ ประเทศ ผู้เสนอ สาระข้อเสนอ ท่าทีของประเทศไทย 2 อิเล็กทรอนิกส์ สหภาพยุโรป สวิตเซอร์แลนด์ 1. เสนอให้ยอมรับ SDoC และ Third Party โดยห้ามการตรวจสอบซ้ำโดยหน่วยงานของประเทศผู้นำเข้า 2. ห้ามมีข้อกำหนดให้ต้องจดทะเบียนสินค้ากับหน่วยงานของประเทศผู้นำเข้า 3. มุ่งเน้นเรื่องความโปร่งใสในการกำหนดกฎระเบียบ พร้อมทำการประเมินผลกระทบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มมาตรฐาน 1. เห็นด้วยในประเด็นความ โปร่งใส 2. ยังไม่รับ SDoC และ ผลทดสอบจาก Third Party

ยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ สหรัฐอเมริกา ลำดับที่ ข้อเสนอ ประเทศ ผู้เสนอ สาระข้อเสนอ ท่าทีของประเทศไทย 3 ยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป 1. ร่วมกัน harmonize กฎระเบียบทางเทคนิคและการตรวจสอบรับรอง โดยในกรณีที่ยังไม่มีมาตรฐานสากลให้มีทางเลือกในการใช้มาตรฐานของสมาชิกอื่นเป็นแนวทางได้ ไม่ปิดกั้นหรือบังคับให้ใช้ UNECE 2. เสนอให้ใช้ good regulatory ของ OECD Guiding Principle for Regulatory Quality and Performance เป็นแนวทางในการออกกฎระเบียบ เสนอให้ใช้ UNECE เป็นแนวทางในการกำหนดมาตรฐาน และเสนอให้สมาชิก Adopt ข้อกำหนดทั้ง 127 เรื่อง ภายใต้ UNECE ให้ได้ภายในระยะเวลา 10 ปี - ไม่รับข้อเสนอ

ลำดับที่ ข้อเสนอ ประเทศ ผู้เสนอ สาระข้อเสนอ ท่าทีของประเทศไทย 4 EMC สหรัฐอเมริกา 1. เน้นเรื่องความโปร่งใสของการกำหนดกฎระเบียบทางวิชาการ โดยเสนอว่าก่อนออกกฎระเบียบใดๆ ต้องทำการประเมินผลกระทบด้านต้นทุนของผู้ประกอบการด้วย 2. เสนอให้ยอมรับผลการทดสอบโดย Third party และห้ามบังคับให้ต้องทดสอบซ้ำโดยประเทศ ผู้นำเข้าอีก รวมทั้งต้องปฏิบัติต่อห้องปฏิบัติการทดสอบในต่างประเทศไม่แตกต่างกับห้องปฏิบัติการทดสอบในประเทศ - ไม่รับข้อเสนอ

และเน้นแก้ไขปัญหาในเรื่อง 1. ฉลากสารเคมีที่เข้มงวดเกินไป ลำดับที่ ข้อเสนอ ประเทศ ผู้เสนอ สาระข้อเสนอ ท่าทีของประเทศไทย 5 ผลิตภัณฑ์เคมี อาร์เจนติน่า เป็นข้อเสนอเพื่อแก้ไขปัญหาการกีดกันทางการค้าโดยกฎระเบียบ REACH โดยมีเหตุผลว่า กฎระเบียบดังกล่าวเป็นการบิดเบือนเหตุผลของ EU ที่ทำให้ตลาดการค้าเคมีภัณฑ์ประสบปัญหาอย่างรุนแรง จึงได้เสนอให้แก้ไข โดยการเจรจาเปิดตลาดกลุ่มสินค้าดังกล่าว โดยเริ่มจากการทำรายการสินค้าและข้อมูลของสารเคมีที่มีความเสี่ยงต่ำ และเน้นแก้ไขปัญหาในเรื่อง 1. ฉลากสารเคมีที่เข้มงวดเกินไป 2. การใช้มาตรฐานที่ไม่เป็นสากล 3. การขึ้นทะเบียนสารเคมี 4. การกำหนดขีดความสามารถของ ห้องปฏิบัติการทดสอบที่สูงเกินไป - ยังไม่ได้กำหนด

ลดระเบียบข้อบังคับเรื่องฉลาก - รับข้อเสนอได้ ลำดับที่ ข้อเสนอ ประเทศ ผู้เสนอ สาระข้อเสนอ ท่าทีของประเทศไทย 6 ฉลากผลิตภัณฑ์ สิ่งทอ สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ลดระเบียบข้อบังคับเรื่องฉลาก - รับข้อเสนอได้