NAMA (Non-Agricultural Market Access) การเปิดตลาดสินค้าอุตสาหกรรมและประมง 29 ธันวาคม 2552 กลุ่มองค์การการค้าโลก สำนักบริหารมาตรฐานระหว่างประเทศ
ที่มา... อุปสรรคของการเปิดเสรีทางการค้า ภาษี กฎระเบียบของประเทศต่างๆ
ปฏิญญารัฐมนตรีโดฮา (Doha Ministerial Declaration) แก้ไขความยุ่งยากในการเข้าสู่ตลาด ของกันและกัน - กำหนดการเข้าสู่ตลาดสำหรับสินค้าอุตสาหกรรมและประมง ไม่รวมสินค้าเกษตรอื่น
วัตถุประสงค์ของการเจรจา NAMA ลดหรือเลิก ภาษีศุลกากร มาตรการที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff Barriers) ครอบคลุมสินค้าทุกรายการ ไม่มีการยกเว้น (แต่ไม่รวมเกษตร) คำนึงถึงผลประโยชน์และสิทธิพิเศษของประเทศกำลังพัฒนาและพัฒนาน้อยที่สุด
กลไกการดำเนินงาน กลุ่มเจรจา NAMA เป็นผู้ดำเนินการเจรจา ผลการเจรจาจะต้องเป็นระดับฉันทามติ ข้อเสนอที่ได้รับการยอมรับจะรวมไว้เป็นภาคผนวกของ Agreement ที่เกี่ยวข้อง มีผลผูกพันกับสมาชิกทั้งหมด
ขั้นตอนการดำเนินงาน Committee on Market Access สมาชิกจัดทำข้อเสนอที่เป็นปัญหาของ ผู้ส่งออกในการเข้าตลาด จัดให้มีการเจรจา รายงานผลให้ Council on Trade in Goods
ข้อเสนอในการเปิดตลาด ลำดับที่ ข้อเสนอ ประเทศผู้เสนอ 1 Ministerial Decision on Procedures for the Facilitation of Solution to Non-Tariff Barrier กลุ่มแอฟริกา แคนาดา สหภาพยุโรป กลุ่มประเทศ LDC กลุ่ม NAMA-11 นิวซีแลนด์ นอร์เวย์ ปากีสถาน และสวิตเซอร์แลนด์ 2 Negotiating Proposal on Non-Tariff Barriers in the Chemical Products and Substances Sector อาร์เจนติน่า 3 Understanding on the Interpretation of the Agreement on Technical Barriers to Trade as Applied to Trade in Firework จีน 4 Understanding on the Interpretation of the Agreement on Technical Barriers to Trade as Applied to Trade in Lighter products 5 Decision on the Elimination of Non-Tariff Barriers Imposed as Unilateral Trade Measures คิวบา 6 Understanding on the Interpretation of the Agreement on Technical Barriers to Trade as Applied to Trade in Electronics สหภาพยุโรปและสวิตเซอร์แลนด์ 7 Revised Submission on Export Taxes สหภาพยุโรป
ข้อเสนอในการเปิดตลาด (ต่อ) ลำดับที่ ข้อเสนอ ประเทศผู้เสนอ 8 Understanding on the Interpretation of the Agreement on Technical Barriers to Trade with Respect to the Labelling of Textiles, Clothing, Footwear and Travel Goods สหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกา 9 Protocol on Transparency in Export Licensing to the General Agreement on Tariffs and Trade 1994 ไต้หวัน ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และเกาหลีใต้ 10 Decision on Non-Tariff Barriers Affecting Forestry Products Used in Building Construction นิวซีแลนด์ 11 Agreement on Non-Tariff Barriers Pertaining to the Electrical Safety and Electromagnetic Compatibility (EMC) of Electronic Goods สหรัฐอเมริกา 12 Ministerial Decision on Trade in Remanufactured Goods ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกาและสวิตเซอร์แลนด์ 13 Agreement on Non-Tariff Barriers Pertaining to Standards, Technical Regulation and Conformity Assessment Procedures for Automotive Products สหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป
สถานะปัจจุบันของการเจรจาที่เกี่ยวข้องกับ สมอ. อยู่ระหว่างการเจรจารวม 6 ข้อเสนอ ลำดับที่ ข้อเสนอ ประเทศ ผู้เสนอ สาระข้อเสนอ ท่าทีของประเทศไทย 1 สินค้าใช้แล้ว (Remanufactured goods) สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น สวิตเซอร์แลนด์ ห้ามไม่ให้ประเทศสมาชิกกำหนดข้อห้ามหรือข้อจำกัดในการนำเข้าสินค้า Remanufactured ที่ขัดกับความตกลง WTO - ไม่รับข้อเสนอ
และ Third Party โดยห้ามการตรวจสอบซ้ำโดยหน่วยงานของประเทศผู้นำเข้า ลำดับที่ ข้อเสนอ ประเทศ ผู้เสนอ สาระข้อเสนอ ท่าทีของประเทศไทย 2 อิเล็กทรอนิกส์ สหภาพยุโรป สวิตเซอร์แลนด์ 1. เสนอให้ยอมรับ SDoC และ Third Party โดยห้ามการตรวจสอบซ้ำโดยหน่วยงานของประเทศผู้นำเข้า 2. ห้ามมีข้อกำหนดให้ต้องจดทะเบียนสินค้ากับหน่วยงานของประเทศผู้นำเข้า 3. มุ่งเน้นเรื่องความโปร่งใสในการกำหนดกฎระเบียบ พร้อมทำการประเมินผลกระทบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มมาตรฐาน 1. เห็นด้วยในประเด็นความ โปร่งใส 2. ยังไม่รับ SDoC และ ผลทดสอบจาก Third Party
ยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ สหรัฐอเมริกา ลำดับที่ ข้อเสนอ ประเทศ ผู้เสนอ สาระข้อเสนอ ท่าทีของประเทศไทย 3 ยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป 1. ร่วมกัน harmonize กฎระเบียบทางเทคนิคและการตรวจสอบรับรอง โดยในกรณีที่ยังไม่มีมาตรฐานสากลให้มีทางเลือกในการใช้มาตรฐานของสมาชิกอื่นเป็นแนวทางได้ ไม่ปิดกั้นหรือบังคับให้ใช้ UNECE 2. เสนอให้ใช้ good regulatory ของ OECD Guiding Principle for Regulatory Quality and Performance เป็นแนวทางในการออกกฎระเบียบ เสนอให้ใช้ UNECE เป็นแนวทางในการกำหนดมาตรฐาน และเสนอให้สมาชิก Adopt ข้อกำหนดทั้ง 127 เรื่อง ภายใต้ UNECE ให้ได้ภายในระยะเวลา 10 ปี - ไม่รับข้อเสนอ
ลำดับที่ ข้อเสนอ ประเทศ ผู้เสนอ สาระข้อเสนอ ท่าทีของประเทศไทย 4 EMC สหรัฐอเมริกา 1. เน้นเรื่องความโปร่งใสของการกำหนดกฎระเบียบทางวิชาการ โดยเสนอว่าก่อนออกกฎระเบียบใดๆ ต้องทำการประเมินผลกระทบด้านต้นทุนของผู้ประกอบการด้วย 2. เสนอให้ยอมรับผลการทดสอบโดย Third party และห้ามบังคับให้ต้องทดสอบซ้ำโดยประเทศ ผู้นำเข้าอีก รวมทั้งต้องปฏิบัติต่อห้องปฏิบัติการทดสอบในต่างประเทศไม่แตกต่างกับห้องปฏิบัติการทดสอบในประเทศ - ไม่รับข้อเสนอ
และเน้นแก้ไขปัญหาในเรื่อง 1. ฉลากสารเคมีที่เข้มงวดเกินไป ลำดับที่ ข้อเสนอ ประเทศ ผู้เสนอ สาระข้อเสนอ ท่าทีของประเทศไทย 5 ผลิตภัณฑ์เคมี อาร์เจนติน่า เป็นข้อเสนอเพื่อแก้ไขปัญหาการกีดกันทางการค้าโดยกฎระเบียบ REACH โดยมีเหตุผลว่า กฎระเบียบดังกล่าวเป็นการบิดเบือนเหตุผลของ EU ที่ทำให้ตลาดการค้าเคมีภัณฑ์ประสบปัญหาอย่างรุนแรง จึงได้เสนอให้แก้ไข โดยการเจรจาเปิดตลาดกลุ่มสินค้าดังกล่าว โดยเริ่มจากการทำรายการสินค้าและข้อมูลของสารเคมีที่มีความเสี่ยงต่ำ และเน้นแก้ไขปัญหาในเรื่อง 1. ฉลากสารเคมีที่เข้มงวดเกินไป 2. การใช้มาตรฐานที่ไม่เป็นสากล 3. การขึ้นทะเบียนสารเคมี 4. การกำหนดขีดความสามารถของ ห้องปฏิบัติการทดสอบที่สูงเกินไป - ยังไม่ได้กำหนด
ลดระเบียบข้อบังคับเรื่องฉลาก - รับข้อเสนอได้ ลำดับที่ ข้อเสนอ ประเทศ ผู้เสนอ สาระข้อเสนอ ท่าทีของประเทศไทย 6 ฉลากผลิตภัณฑ์ สิ่งทอ สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ลดระเบียบข้อบังคับเรื่องฉลาก - รับข้อเสนอได้