การอนุรักษ์พลังงานและการประเมินผล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PAIBOONKIJ SUPPLY LIMITED PARTNERSHIP
Advertisements

ชื่อโครงงาน : การอนุรักษ์พลังงานของระบบควบคุมแรงดันน้ำ Inside Outside
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
โดย นายมนชิต วชิรพรพงศา และ นายสรณัย จันทรโยธา
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด)
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน นายอัศวิน สมบูรณชนะชัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร ปี2.
วิธีการช่วยป้องกัน สภาวะโลกร้อน.
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
Management Information System of Air Conditioner Store
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
ภาวะโลกร้อน จัดทำโดย 1. ด.ช. ศักดิ์ดา โนนน้อย เลขที่ ด.ช. ณัฐชนน วงศ์สุริยา เลขที่ ด.ญ. มินตรา เสือภู่ เลขที่ ด.ญ. วราภรณ์ คอบุญทรง เลขที่
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
ประชุมคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน มหาวิทยาลัยมหิดล
วันจันทร์ที่ 11 มิถุนายน 2555 เวลา น.
บทที่ 2 การผลิตและการส่งพลังงานไฟฟ้า.
ECO CAR (ACES CAR ) รถประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล.
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
อะไรคือ “ไฮบริด”. อะไรคือ “ไฮบริด” ไฮบริด ( hybrid) คือ ระบบการทำงานของเครื่องยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์สองระบบทำงานร่วมกัน โดยทั่วไปแล้วหมายถึงการทำงานร่วมกันระหว่างระบบสันดาปภายในที่ใช้น้ำมันเป็นเชื้อเพลิงทำงานร่วมกับระบบมอเตอร์ไฟฟ้า.
SOLAR CHIMNEY (ปล่องลมแสงอาทิตย์)
การลดความชื้นในโรงพยาบาลทันตกรรม มหาวิทยาลัยนเรศวร
คำอธิบาย ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ
การขนส่งผักและผลไม้.
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “สถานการณ์มลพิษทางอากาศ ในบรรยากาศในภาคตะวันออก” หลักการและเหตุผล มลภาวะทางอากาศ (Air pollution) เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ.
คณะกรรมการ “รวมพลังศรีปทุมหารสอง”
ระบบทำความเย็นและปรับอากาศ
Combined Cycle Power Plant
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 28 สิงหาคม 2552
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานเรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน.
การประหยัดไฟฟ้า และพลังงาน
3.1 รายงานการดำเนินงานตามมาตรการประหยัดพลังงานและสาธารณูปโภค (สบก.)
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
หลักการประหยัดพลังงาน และเครื่องมือวัดการใช้พลังงาน
นำเสนอโดย,,, นายสุวิทย์ เมืองวงศ์
สมาชิกกลุ่ม 9 1. นางจริยา เอียบสกุล วิทยาลัยเทคนิคภูเก็ต
ระบบเครื่องปรับอากาศ
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
สาระน่ารู้เกี่ยวกับเครื่องปรับอากาศ
เครื่องดูดฝุ่น.
ความหมายของเครื่องปรับอากาศ
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
การอนุรักษ์พลังงาน ในระบบปรับอากาศ.
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
************************************************
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย
ENERGY SAVING BY HEAT PUMP.
Medical Engineering Center 1 (Ratchaburi)
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเรื่อง กำหนดมาตรฐานค่าความทึบแสงของเขม่าควันจากสถานประกอบกิจการที่ใช้ หม้อไอน้ำ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
มาตรการประหยัดพลังงาน
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน เรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ของวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักร ที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน.
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
จิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
ภาวะโลกร้อน.
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
วงจรอัดอากาศรถจักร ALSTHOM
พระราชกฤษฎีกา กำหนดประเภท ขนาด และลักษณะของกิจการพลังงาน ที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องขอรับใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
งานวิจัย (Thesis Project)
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานเรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน.
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 28 สิงหาคม 2552
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การอนุรักษ์พลังงานและการประเมินผล มาตรการ: ใช้งานอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน

แนวทางการปรับปรุง

ติดตั้ง Economizer ที่ Air Heater ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง Air Heater Burner ลมสะอาด ลมร้อน(สะอาด) 240-260OC ไอเสียปล่อยทิ้ง 300-330OC อากาศเข้า เชื้อเพลิง (ก๊าซธรรมชาติ) 35-40OC ไอเสียเข้า Economizer Economizer 55-57OC ไอเสียออก

นำความร้อนจากคอมเพรสเซอร์ห้องเย็นมาใช้ (ร่วมกับ Heat Pump)

การนำน้ำคอนเดนเสทมาอุ่นน้ำอ้อย ก่อนการปรับปรุง หลังการปรับปรุง

นำความร้อนจากน้ำระบายความร้อนมาใช้ มาใช้อุ่นน้ำล้างขวด

แนวทางการประเมินผล A ประเมินโดยดัชนี (SEC)

การตรวจพิสูจน์ผลประหยัดโดยใช้ดัชนี (SEC) กรณีการติดตั้ง Economizer ที่ Air Heater และการนำความร้อนทิ้งจากคอมเพรสเซอร์มาใช้ 1.หาตัวแปรกำหนดสภาวะการทำงาน 2.หาค่าดัชนีการใช้พลังงานต่อหน่วย (SEC) ก่อนและหลังการปรับปรุง ดัชนีการใช้พลังงานต่อหน่วย = ปริมาณ พลังงานที่ใช้ ปริมาณผลผลิต(Out put)ของระบบ 3.หาค่าผลประหยัดที่เกิดขึ้นต่อหน่วยการผลิตลมร้อน โดยคิดจาก ผลประหยัดต่อหน่วย = ดัชนีการใช้พลังงานต่อหน่วยก่อน – หลังปรับปรุง 4.ปรับแก้ค่าผลประหยัดในกรณีที่มีตัวแปรกำหนดสภาวะการทำงานมีค่าแตกต่างกัน 5.หาค่าผลประหยัดรายปี โดยคิดจาก ผลประหยัดรายปี = ผลประหยัดต่อหน่วย x ปริมาณผลผลิต/ปี

กรณีการติดตั้ง Economizer ที่ Air Heater (ใช้การตรวจวัดเพื่อประเมินโดย SEC) 1.หาค่าดัชนีการใช้พลังงานต่อหน่วยลมร้อนที่ผลิตก่อนและหลังการปรับปรุง โดยคิดจาก ดัชนีการใช้พลังงานต่อหน่วย(BTU/m3)= ปริมาณก๊าซธรรมชาติที่ใช้(m3) x ค่าความร้อน(BTU/m3) ปริมาณลมร้อนที่ผลิตได้(m3) 2.หาค่าผลประหยัดที่เกิดขึ้นต่อหน่วยการผลิตลมร้อน โดยคิดจาก ผลประหยัดต่อหน่วย(BTU/m3) = ดัชนีการใช้พลังงานต่อหน่วยก่อน – หลังปรับปรุง 3.ปรับแก้ค่าผลประหยัดในกรณีที่มีตัวแปรที่มีผลกระทบกับประสิทธิภาพของระบบแตกต่างกันมาก ได้แก่ - ค่าอุณหภูมิของลมร้อนที่ผลิตได้ - ค่าเอนทาลปีของบรรยากาศ (อุณหภูมิ และความชื้นของบรรยากาศ) 4.หาค่าผลประหยัดรายปี โดยคิดจาก ผลประหยัดรายปี =ผลประหยัดต่อหน่วย(BTU/m3) x ปริมาณการผลิตลมร้อนต่อปี(m3)

กรณีการนำความร้อนทิ้งจากคอมเพรสเซอร์มาใช้ (ใช้การตรวจวัดเพื่อประเมินโดย SEC) 1.คำนวณหาดัชนีการใช้น้ำมันดีเซลต่อจำนวนห้องพักในแต่ละเดือน ดัชนีการใช้เชื้อเพลิงต่อห้องพัก(ลิตร/ห้อง-วัน) = ปริมาณการใช้เชื้อเพลิงในหม้อไอน้ำ (ลิตร) จำนวนห้องพักที่จำหน่าย(ห้อง-วัน) 2.คำนวณหาดัชนีการใช้พลังงานเชื้อเพลิงที่ลดลง ดัชนีการใช้เชื้อเพลิงที่ลดลง (ลิตร/ห้อง-วัน) = ดัชนีการใช้เชื้อเพลิงก่อนปรับปรุง – หลังปรับปรุง 3.คำนวณหาปริมาณเชื้อเพลิงที่ประหยัดได้จากการปรับปรุง ผลประหยัดเชื้อเพลิง(ลิตร/ปี) = ดัชนีการใช้เชื้อเพลิงที่ลดลง(ลิตร/ห้อง-วัน) x จำนวนห้องพัก ที่จำหน่ายต่อปี ในปีฐาน (ห้อง-วัน/ปี) 4.คำนวณหาพลังงานไฟฟ้าที่ใช้เพิ่มขึ้นจากการปรับปรุง โดยคิดจาก พลังงานไฟฟ้าที่ใช้เพิ่มขึ้น (kWh/ปี)= ดัชนีการใช้ไฟฟ้าเฉลี่ย(kWh/ห้อง-วัน) x จำนวนห้องพักที่ จำหน่ายต่อปี ใน Base year (ห้อง-วัน/ปี) 5. คำนวณหาผลประหยัดพลังงานสุทธิ ผลประหยัดสุทธิ = ผลประหยัดเชื้อเพลิง(ลิตร/ปี) – การใช้ไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น(kWh/ปี)

แนวทางการประเมินผล B ประเมินโดยค่าความร้อน (Q)

การตรวจพิสูจน์ผลประหยัดโดยใช้ค่าความร้อน กรณีนำน้ำคอนเดนเสทมาอุ่นน้ำอ้อย และการนำน้ำระบายความร้อนมาอุ่นน้ำล้างขวด 1.หาตัวแปรกำหนดสภาวะการทำงาน 2.หาค่าพลังงานที่ถ่ายเทกลับคืนโดยทางตรงหรือทางอ้อม (แล้วแต่ความสะดวกในการตรวจวัด) 2.1 ทางตรงคิดจากพลังงานที่ระบบได้รับกลับคืน 2.2 ทางอ้อมคิดจากพลังงานที่ถ่ายเทออกมาจากแหล่งความร้อน โดยสมการหลักในการคำนวณค่าความร้อนคือ Q = m x Cp x (T2-T1) 3.หาปริมาณพลังงาน(Primary)ที่ประหยัดได้โดยคำนวณจากประสิทธิภาพของระบบผลิตความร้อน เช่น Boiler Burner Heater เป็นต้น พลังงานที่ประหยัดได้ = พลังงานความร้อนที่ได้ประหยัดได้ ประสิทธิภาพของระบบผลิตความร้อน x ค่าความร้อนต่อหน่วยเชื้อเพลิง 4.ปรับแก้ค่าผลประหยัดในกรณีที่มีตัวแปรกำหนดสภาวะการทำงานมีค่าแตกต่างกัน

กรณีนำน้ำคอนเดนเสทมาอุ่นน้ำอ้อย (ใช้การตรวจวัดเพื่อประเมินโดยค่าความร้อน) ปริมาณไอน้ำที่ประหยัดได้ ที่ 1St Lime Juice Heater (mSteam, Ton/ปี) โดยที่ mJuice = ปริมาณน้ำอ้อย, Ton/ปี CP, Juice = Specific Heat ของน้ำอ้อย, kJ/kg K TPre = อุณหภูมิของน้ำอ้อยก่อนเข้า 1St Lime Juice Heater ก่อนการปรับปรุง TPost = อุณหภูมิของน้ำอ้อยก่อนเข้า 1St Lime Juice Heater หลังการปรับปรุง  = ค่า Effectiveness ที่ 1St Lime Juice Heater = ค่าผลต่างเอนทาลปีของไอน้ำ, kJ/kg

กรณีนำน้ำระบายความร้อนมาอุ่นน้ำล้างขวด (ใช้การตรวจวัดเพื่อประเมินโดยค่าความร้อน) หลักการที่นำมาใช้ 1. หม้อไอน้ำ หาค่า SEC ของหม้อไอน้ำ ในหน่วยของ MMBTU ของก๊าซธรรมชาติต่อปริมาณไอน้ำที่ผลิตได้ เพื่อ ประเมินต้นทุนในการผลิตไอน้ำ 2. น้ำ SW1 สำหรับเครื่องล้างขวด ประเมินค่าความร้อน ของน้ำ SW1 ที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากการติดตั้ง Plate Heat Exchanger ใหม่ เพื่อเปรียบเทียบการลดลงของปริมาณไอ น้ำที่ต้องนำไปผสมกับน้ำ SW1 ก่อนนำไปใช้กับเครื่องล้าง ขวด