การอนุรักษ์พลังงานและการประเมินผล มาตรการ: ใช้งานอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน
แนวทางการปรับปรุง
ติดตั้ง Economizer ที่ Air Heater ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง Air Heater Burner ลมสะอาด ลมร้อน(สะอาด) 240-260OC ไอเสียปล่อยทิ้ง 300-330OC อากาศเข้า เชื้อเพลิง (ก๊าซธรรมชาติ) 35-40OC ไอเสียเข้า Economizer Economizer 55-57OC ไอเสียออก
นำความร้อนจากคอมเพรสเซอร์ห้องเย็นมาใช้ (ร่วมกับ Heat Pump)
การนำน้ำคอนเดนเสทมาอุ่นน้ำอ้อย ก่อนการปรับปรุง หลังการปรับปรุง
นำความร้อนจากน้ำระบายความร้อนมาใช้ มาใช้อุ่นน้ำล้างขวด
แนวทางการประเมินผล A ประเมินโดยดัชนี (SEC)
การตรวจพิสูจน์ผลประหยัดโดยใช้ดัชนี (SEC) กรณีการติดตั้ง Economizer ที่ Air Heater และการนำความร้อนทิ้งจากคอมเพรสเซอร์มาใช้ 1.หาตัวแปรกำหนดสภาวะการทำงาน 2.หาค่าดัชนีการใช้พลังงานต่อหน่วย (SEC) ก่อนและหลังการปรับปรุง ดัชนีการใช้พลังงานต่อหน่วย = ปริมาณ พลังงานที่ใช้ ปริมาณผลผลิต(Out put)ของระบบ 3.หาค่าผลประหยัดที่เกิดขึ้นต่อหน่วยการผลิตลมร้อน โดยคิดจาก ผลประหยัดต่อหน่วย = ดัชนีการใช้พลังงานต่อหน่วยก่อน – หลังปรับปรุง 4.ปรับแก้ค่าผลประหยัดในกรณีที่มีตัวแปรกำหนดสภาวะการทำงานมีค่าแตกต่างกัน 5.หาค่าผลประหยัดรายปี โดยคิดจาก ผลประหยัดรายปี = ผลประหยัดต่อหน่วย x ปริมาณผลผลิต/ปี
กรณีการติดตั้ง Economizer ที่ Air Heater (ใช้การตรวจวัดเพื่อประเมินโดย SEC) 1.หาค่าดัชนีการใช้พลังงานต่อหน่วยลมร้อนที่ผลิตก่อนและหลังการปรับปรุง โดยคิดจาก ดัชนีการใช้พลังงานต่อหน่วย(BTU/m3)= ปริมาณก๊าซธรรมชาติที่ใช้(m3) x ค่าความร้อน(BTU/m3) ปริมาณลมร้อนที่ผลิตได้(m3) 2.หาค่าผลประหยัดที่เกิดขึ้นต่อหน่วยการผลิตลมร้อน โดยคิดจาก ผลประหยัดต่อหน่วย(BTU/m3) = ดัชนีการใช้พลังงานต่อหน่วยก่อน – หลังปรับปรุง 3.ปรับแก้ค่าผลประหยัดในกรณีที่มีตัวแปรที่มีผลกระทบกับประสิทธิภาพของระบบแตกต่างกันมาก ได้แก่ - ค่าอุณหภูมิของลมร้อนที่ผลิตได้ - ค่าเอนทาลปีของบรรยากาศ (อุณหภูมิ และความชื้นของบรรยากาศ) 4.หาค่าผลประหยัดรายปี โดยคิดจาก ผลประหยัดรายปี =ผลประหยัดต่อหน่วย(BTU/m3) x ปริมาณการผลิตลมร้อนต่อปี(m3)
กรณีการนำความร้อนทิ้งจากคอมเพรสเซอร์มาใช้ (ใช้การตรวจวัดเพื่อประเมินโดย SEC) 1.คำนวณหาดัชนีการใช้น้ำมันดีเซลต่อจำนวนห้องพักในแต่ละเดือน ดัชนีการใช้เชื้อเพลิงต่อห้องพัก(ลิตร/ห้อง-วัน) = ปริมาณการใช้เชื้อเพลิงในหม้อไอน้ำ (ลิตร) จำนวนห้องพักที่จำหน่าย(ห้อง-วัน) 2.คำนวณหาดัชนีการใช้พลังงานเชื้อเพลิงที่ลดลง ดัชนีการใช้เชื้อเพลิงที่ลดลง (ลิตร/ห้อง-วัน) = ดัชนีการใช้เชื้อเพลิงก่อนปรับปรุง – หลังปรับปรุง 3.คำนวณหาปริมาณเชื้อเพลิงที่ประหยัดได้จากการปรับปรุง ผลประหยัดเชื้อเพลิง(ลิตร/ปี) = ดัชนีการใช้เชื้อเพลิงที่ลดลง(ลิตร/ห้อง-วัน) x จำนวนห้องพัก ที่จำหน่ายต่อปี ในปีฐาน (ห้อง-วัน/ปี) 4.คำนวณหาพลังงานไฟฟ้าที่ใช้เพิ่มขึ้นจากการปรับปรุง โดยคิดจาก พลังงานไฟฟ้าที่ใช้เพิ่มขึ้น (kWh/ปี)= ดัชนีการใช้ไฟฟ้าเฉลี่ย(kWh/ห้อง-วัน) x จำนวนห้องพักที่ จำหน่ายต่อปี ใน Base year (ห้อง-วัน/ปี) 5. คำนวณหาผลประหยัดพลังงานสุทธิ ผลประหยัดสุทธิ = ผลประหยัดเชื้อเพลิง(ลิตร/ปี) – การใช้ไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น(kWh/ปี)
แนวทางการประเมินผล B ประเมินโดยค่าความร้อน (Q)
การตรวจพิสูจน์ผลประหยัดโดยใช้ค่าความร้อน กรณีนำน้ำคอนเดนเสทมาอุ่นน้ำอ้อย และการนำน้ำระบายความร้อนมาอุ่นน้ำล้างขวด 1.หาตัวแปรกำหนดสภาวะการทำงาน 2.หาค่าพลังงานที่ถ่ายเทกลับคืนโดยทางตรงหรือทางอ้อม (แล้วแต่ความสะดวกในการตรวจวัด) 2.1 ทางตรงคิดจากพลังงานที่ระบบได้รับกลับคืน 2.2 ทางอ้อมคิดจากพลังงานที่ถ่ายเทออกมาจากแหล่งความร้อน โดยสมการหลักในการคำนวณค่าความร้อนคือ Q = m x Cp x (T2-T1) 3.หาปริมาณพลังงาน(Primary)ที่ประหยัดได้โดยคำนวณจากประสิทธิภาพของระบบผลิตความร้อน เช่น Boiler Burner Heater เป็นต้น พลังงานที่ประหยัดได้ = พลังงานความร้อนที่ได้ประหยัดได้ ประสิทธิภาพของระบบผลิตความร้อน x ค่าความร้อนต่อหน่วยเชื้อเพลิง 4.ปรับแก้ค่าผลประหยัดในกรณีที่มีตัวแปรกำหนดสภาวะการทำงานมีค่าแตกต่างกัน
กรณีนำน้ำคอนเดนเสทมาอุ่นน้ำอ้อย (ใช้การตรวจวัดเพื่อประเมินโดยค่าความร้อน) ปริมาณไอน้ำที่ประหยัดได้ ที่ 1St Lime Juice Heater (mSteam, Ton/ปี) โดยที่ mJuice = ปริมาณน้ำอ้อย, Ton/ปี CP, Juice = Specific Heat ของน้ำอ้อย, kJ/kg K TPre = อุณหภูมิของน้ำอ้อยก่อนเข้า 1St Lime Juice Heater ก่อนการปรับปรุง TPost = อุณหภูมิของน้ำอ้อยก่อนเข้า 1St Lime Juice Heater หลังการปรับปรุง = ค่า Effectiveness ที่ 1St Lime Juice Heater = ค่าผลต่างเอนทาลปีของไอน้ำ, kJ/kg
กรณีนำน้ำระบายความร้อนมาอุ่นน้ำล้างขวด (ใช้การตรวจวัดเพื่อประเมินโดยค่าความร้อน) หลักการที่นำมาใช้ 1. หม้อไอน้ำ หาค่า SEC ของหม้อไอน้ำ ในหน่วยของ MMBTU ของก๊าซธรรมชาติต่อปริมาณไอน้ำที่ผลิตได้ เพื่อ ประเมินต้นทุนในการผลิตไอน้ำ 2. น้ำ SW1 สำหรับเครื่องล้างขวด ประเมินค่าความร้อน ของน้ำ SW1 ที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากการติดตั้ง Plate Heat Exchanger ใหม่ เพื่อเปรียบเทียบการลดลงของปริมาณไอ น้ำที่ต้องนำไปผสมกับน้ำ SW1 ก่อนนำไปใช้กับเครื่องล้าง ขวด