การลดปัญหาเนื้อแก้วยางไหล ในการผลิตมังคุดในภาคใต้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
Advertisements

พื้นที่จุดอ่อนน้ำท่วมและการแก้ปัญหา
วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
รายงานสถานการณ์การผลิตข้าว
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
การเจริญเติบโตของพืช
การลดปัญหาเนื้อแก้วและยางไหลในผล ในกระบวนการผลิตมังคุด
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
รายงานเรื่อง ภาคเหนือ
หากไม่มีการช่วยกันแก้ไขปัญหาโลกร้อนในวันนี้ ในอนาคตจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างไร 1. ทำให้ฤดูกาลของฝนเปลี่ยนแปลงไป กระบวนการระเหยและการกลั่นตัวจะเร็วขึ้น.
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
หมู่ 6 ตำบลแก่งโสภา อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี
วิชา สรีรวิทยาของพืช ( ) (Plant Physiology) วันที่ 8 มิถุนายน 2552
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย กรกฎาคม 2552
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
ผู้สอน: อ.วิจิตต์ วรรณชิต
What is the optimum stocking rate ?
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
โปรแกรมประเมินค่าเสียหายทางสิ่งแวดล้อมบางประการหลังการทำลายป่าไม้
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
ลักษณะภูมิอากาศในทวีปยุโรป
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จังหวัดจันทบุรี นายมณเฑียร สุขผลรหัสนิสิต คณะสาธารณสุขศาสตร์
การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร
ตราด.
แนวทางการบริหารจัดการผลไม้ระยะยาว
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองราชบุรี
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
ปลูกมะนาว ในท่อซีเมนต์ เทคนิคบังคับออกผลช่วงราคาแพง
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
รายงานสถานการณ์การระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
5.4 ปัญหา ปัจจัยและอุปสรรคในการศึกษา
1. แนวความคิดในการศึกษา
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
El Nino ดั้งเดิมเป็นคำที่ชาวประมงเปรูใช้ เรียกปีที่มีการจับปลาในทะเลได้เป็นจำนวน มากกว่าปีอื่น ๆ แต่พื้นที่บกบริเวณด้าน ตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิคเกิดภาวะแห้ง.
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา
ศึกษารูปแบบการแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ ในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี
มหาวิทยาลัยบูรพาวิทยาเขตสระแก้ว
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
โดย สถานีพัฒนาอาหารสัตว์สุพรรณบุรี
โครงการฝายยางลำเซบาย ตำบลนาหมอม้า อำเภอเมือง จังหวัดอำนาจเจริญ
กรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าว รอบที่ 1 ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ที่ปลูกเหมือนภาคอื่นๆ.
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
นางสาว อรอนงค์ จิตร์ภักดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การลดปัญหาเนื้อแก้วยางไหล ในการผลิตมังคุดในภาคใต้ รศ.ดร.สายัณห์ สดุดี ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา

ความแปรปรวนของภูมิอากาศในภาคใต้ สาเหตุการเกิดเนื้อแก้ว-ยางไหล แนวทางการลดปัญหา

พื้นที่ปลูกมังคุดที่สำคัญของประเทศไทย

การผลิตมังคุดในภาคตะวันออกและภาคใต้ ของประเทศไทยในปี 2550 พื้นที่ปลูก (ไร่) 181,431 306,618 พื้นที่เก็บเกี่ยว (ไร่) 146,956 240,337 ผลผลิต (ตัน) 113,113 235,068 ภาคตะวันออก ภาคใต้ ที่มา : สถิติการส่งออก กรมศุลกากร,ประเทศไทย โดย www.customs.go.th

จังหวัดสงขลา, ภาคใต้ของประเทศไทย

A B C D แสดงแนวโน้มข้อมูลสภาพภูมิอากาศ ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิสูงสุด (A) อุณหภูมิต่ำสุด (B) ความแปรปรวนปริมาณน้ำฝน (C) และจำนวนวันฝนตก (D) ในรอบ 30 ปี ของ จ.สงขลา (พ.ศ.2519-2549) จากสถานีอุตุนิยมวิทยาคอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา

จังหวัดนครศรีธรรมราช, ภาคใต้ของประเทศไทย

ปริมาณน้ำฝนรายเดือน (มม.) (A) (B) (C) เดือน ปริมาณน้ำฝนรายเดือน (มม.) รูปแบบการกระจายตัวของฝนที่ อ.เมืองฯ จ.นครศรีธรรมราช (A) เปรียบเทียบกับการกระจายตัวของฝนในปีที่มีฝนตกในช่วงฤดูร้อน หรือให้ผลเว้นปี (B) และในปีที่มีผลผลิตสูงมาก (C)

ดัชนีการให้ผลผลิตเว้นปี ผลผลิตเฉลี่ย (กิโลกรัม/ต้น) 2547-2548 2548-2549 2549-2550 2550-2551 ดัชนีการให้ผลผลิตเว้นปี (ก) ปี พ.ศ. 0.0 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0 ผลผลิตเฉลี่ย (กิโลกรัม/ต้น) (ข) ปี พ.ศ. 25 50 75 100 2547 2548 2549 2550 2551 ดัชนีการให้ผลปีเว้นปี (ก) และผลผลิตเฉลี่ย (ข) ของมังคุด ช่วงปี 2547-2551 ในเขตฝั่งตะวันออกของ จ.นครศรีธรรมราช

  เวียดนาม ออสเตรเลีย แหล่งผลิตรายย่อย ไทย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย แหล่งผลิตรายใหญ่ ธ.ค. พ.ย. ต.ค. ก.ย. ส.ค. ก.ค. มิ.ย. พ.ค. เม.ย. มี.ค. ก.พ. ม.ค. ระยะเวลา ฤดูกาลของการเก็บเกี่ยวผลผลิตมังคุดในประเทศ ที่เป็นแหล่งผลิตรายใหญ่และรายย่อย ที่มา: Osman และ Milan (2006)

ก่อนเก็บเกี่ยวผลผลิต สาเหตุการเกิดเนื้อแก้ว และยางไหล เนื้อแก้ว ยางไหล อิทธิพลของน้ำ (น้ำฝน-น้ำใต้ดิน) - น้ำสามารถซึมเข้าสู่ผลทางลำต้น-ผิวผล-ขั้วผล - เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาวะน้ำภายในผล ฝนตกต่อเนื่อง 2-3 วัน ก่อนเก็บเกี่ยวผลผลิต

บรรยากาศ คายน้ำทางปากใบ ลำต้น ราก ดิน น้ำในดิน ความต่างของศักย์ของน้ำ ภาพแสดงการเคลื่อนที่ของน้ำจากดินผ่านต้นพืช สู่บรรยากาศที่เปรียบเหมือนการเคลื่อนที่ของไฟฟ้า ที่มีความต่างศักย์ คายน้ำทางปากใบ บรรยากาศ

Ψ = -0.8 MPa Ψ = -1.2 MPa Ψ = 0 MPa Ψ = -1.2 MPa

ส่วนเชื่อมต่อระหว่างขั้วผลไปยังเนื้อผลของมังคุด

องค์ประกอบของ N,P,K ในผลมังคุด ธาตุอาหาร (%) 1.37 0.44 1.42 K 0.35 0.14 0.22 P 1.14 0.42 0.46 N เมล็ด เนื้อ เปลือก องค์ประกอบของ N,P,K ในผลมังคุด ธาตุอาหาร (%) ที่มา: ปัญจพร (2545) องค์ประกอบของธาตุอาหาร N, P และ K ในส่วนของเปลือก เนื้อ และเมล็ด

K+ กลีบของเนื้อผลที่มีเมล็ดของผลมังคุดมีโพแทสเซียมสูง ทำให้มีการดึงน้ำเข้าสู่เซลล์ ถ้ามีน้ำมากจะทำให้เกิดเนื้อแก้วได้

ไขเคลือบผิวผลของผลมังคุดและส่วนของช่องเปิดที่ผิวผล (stoma)

B A ภาพตัดขวางของท่อน้ำในทุเรียน (A), มังคุด (B)

A B เปลือกไม้ กระพี้ โครงสร้างเนื้อไม้และการจัดเรียงตัวของท่อน้ำจากการตัดตามขวาง ของกิ่งทุเรียน (A), มังคุด (B)

เปลือกผลมังคุดที่ได้รับน้ำเข้าไปมากจนทำให้ท่อน้ำยางขยายตัว

การที่ผลมังคุดได้รับน้ำมากอย่างรวดเร็วจะทำให้ผลแตก และยางไหล

แสดงผิวของผลที่เป็นเนื้อแก้ว (A) เปรียบเทียบกับผิวผลปกติ (B) และแสดงภาพตัดขวางของเปลือก (C) ในส่วนของท่อน้ำ (a) ท่อน้ำยาง (b) และ เซลล์พาเรนไคมา (c)

การติดตั้งหัววัด sapflow sensor เพื่อวัดการไหลของน้ำเข้าสู่ผล

การไหลของน้ำเข้าทางใบและผลที่ได้รับแสง (A) และที่พรางแสง (B)

แนวทางการลดปัญหา การเกิดเนื้อแก้วและยางไหล เร่งการออกดอกและติดผลให้เร็วขึ้น เพื่อหลีกเลี่ยงฝนชุกในช่วงเก็บผล ควบคุมการให้น้ำ คือ ไม่ปล่อยให้ดิน อยู่ในสภาพแห้งในช่วงการพัฒนาของผล และก่อนเก็บเกี่ยว

ต้นมังคุดที่ไม่ตัดยอด (A) และต้นมังคุดที่ตัดยอด (B)

การไว้ผลอย่างเหมาะสมโดยประเมินจากการใช้โครงลูกบาศก์ (cubic frame) ขนาด 50x50x50 ซม. สุ่มนับจำนวนผลของต้นมังคุดรอบทรงพุ่ม

การแนะนำให้เกษตรกรใส่แคลเซียมทางดิน การใส่ Ca ทางดินโดยตรง ในรูปของยิปซัม

Ca การแนะนำให้เกษตรกร ฉีดพ่น 10% CaCl2 ให้แก่ผลมังคุด อายุ 6-8 สัปดาห์

ขอบคุณ