งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การลดปัญหาเนื้อแก้วและยางไหลในผล ในกระบวนการผลิตมังคุด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การลดปัญหาเนื้อแก้วและยางไหลในผล ในกระบวนการผลิตมังคุด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การลดปัญหาเนื้อแก้วและยางไหลในผล ในกระบวนการผลิตมังคุด
โรงแรมมณีจันท์ รีสอร์ทแอนด์สปอร์ตคลับ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2551 ดร. เสริมสุข สลักเพ็ชร์ ผู้อำนวยการสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6

2 การลดปัญหาเนื้อแก้วและยางไหลในผล ในกระบวนการผลิตมังคุด
ยังไม่มีวิธีการจัดการที่เหมาะสมเพื่อป้องกันและแก้ปัญหา จัดการการผลิตแบบเลี่ยงปัญหา - จัดการให้ต้นมังคุดออกดอกเร็วขึ้น เพื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตก่อนฤดูฝน ปริมาณน้ำที่ต้นมังคุดได้รับระหว่างการพัฒนาการของผล สัมพันธ์กับการเกิดอาการเนื้อแก้วและยางไหลในผล

3 ป้องกันฝน ร่วมกับจัดการน้ำต้นมังคุดอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
ฝนตกหนักช่วงใกล้เก็บเกี่ยว พบอาการเนื้อแก้วมากขึ้น ผลอายุ วัน (11-12 สัปดาห์) จะเกิดอาการเนื้อแก้วและยางไหลในผล มากกว่าผลที่อายุอ่อนกว่านี้

4 อาการเนื้อแก้ว ปัจจัยเชื่อมโยงที่ทำให้เกิดอาการเนื้อแก้ว
ฝนตกหนักในช่วงแล้ง ขณะผลกำลังพัฒนาการ น้ำน้อยเกินไปในช่วงแล้ง น้ำมากกระทันหัน solute มีมากช่วงผล ใกล้เปลี่ยนเป็นระยะสายเลือด water stress ช่วงการ พัฒนาการของผล cell division & filling ไม่สมบูรณ์ อาหารสะสมช่วงการ พัฒนาการของผลไม่เพียงพอ อาการเนื้อแก้ว Osmotic potential ในเซลล์เนื้อสูง Cell elastic modulus ของเนื้อ ปัจจัยเชื่อมโยงที่ทำให้เกิดอาการเนื้อแก้ว

5 อาการ ยางไหลในผล ปัจจัยเชื่อมโยงที่ทำให้เกิดอาการยางไหลในผล
lateral movement จากท่อน้ำสู่ท่อน้ำยาง ปริมาณน้ำยาง cell division & filling ไม่สมบูรณ์ อาหารสะสมช่วงการ พัฒนาการของดอกและผล ไม่เพียงพอ water stress (deficit/logging/saturation) ช่วงการพัฒนาการของผล อาการ ยางไหลในผล Osmotic potential ของน้ำยาง ในท่อน้ำยางสูง (เนื้อ/ไส้กลางผล/เปลือก) Cell elastic modulus ของท่อน้ำยาง ปัจจัยเชื่อมโยงที่ทำให้เกิดอาการยางไหลในผล

6 ปัจจัยหลัก ปัจจัยรอง ปัจจัยเสริม ของการเกิดอาการเนื้อแก้วและยางไหลในผล
- การเปลี่ยนแปลงอย่างกระทันหันของสภาวะน้ำ ในเนื้อมังคุด และในน้ำยาง ปัจจัยรอง - อายุผลที่เหมาะสม - ความแข็งแรงของโครงสร้างพื้นฐานของเซลล์เนื้อมังคุด และเซลล์ท่อน้ำยาง

7 ปัจจัยหลัก ปัจจัยรอง ปัจจัยเสริม ของการเกิดอาการเนื้อแก้วและยางไหลในผล
- ความสมบูรณ์ต้น - ปริมาณอาหารสะสมในต้น - จำนวนผลต่อต้น

8 การดำเนินงาน 1. โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการแก้ปัญหาการเกิดอาการเนื้อแก้วและยางไหลในผล (กวก.) 2. โครงการศึกษาวิจัยเพื่อหาวิธีการเพิ่มปริมาณมังคุดคุณภาพโดยการจัดการเขตกรรมแบบผสมผสาน (กวก.) 3. โครงการวิจัยการสร้างสภาวะเครียดน้ำเพื่อชักนำการออกดอกของมังคุด และลดความเสียหายของอาการ เนื้อแก้วยางไหลในผล (สกว.)


ดาวน์โหลด ppt การลดปัญหาเนื้อแก้วและยางไหลในผล ในกระบวนการผลิตมังคุด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google