การลดปัญหาเนื้อแก้วยางไหล ในการผลิตมังคุดในภาคใต้ รศ.ดร.สายัณห์ สดุดี ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
ความแปรปรวนของภูมิอากาศในภาคใต้ สาเหตุการเกิดเนื้อแก้ว-ยางไหล แนวทางการลดปัญหา
พื้นที่ปลูกมังคุดที่สำคัญของประเทศไทย
การผลิตมังคุดในภาคตะวันออกและภาคใต้ ของประเทศไทยในปี 2550 พื้นที่ปลูก (ไร่) 181,431 306,618 พื้นที่เก็บเกี่ยว (ไร่) 146,956 240,337 ผลผลิต (ตัน) 113,113 235,068 ภาคตะวันออก ภาคใต้ ที่มา : สถิติการส่งออก กรมศุลกากร,ประเทศไทย โดย www.customs.go.th
จังหวัดสงขลา, ภาคใต้ของประเทศไทย
A B C D แสดงแนวโน้มข้อมูลสภาพภูมิอากาศ ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิสูงสุด (A) อุณหภูมิต่ำสุด (B) ความแปรปรวนปริมาณน้ำฝน (C) และจำนวนวันฝนตก (D) ในรอบ 30 ปี ของ จ.สงขลา (พ.ศ.2519-2549) จากสถานีอุตุนิยมวิทยาคอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
จังหวัดนครศรีธรรมราช, ภาคใต้ของประเทศไทย
ปริมาณน้ำฝนรายเดือน (มม.) (A) (B) (C) เดือน ปริมาณน้ำฝนรายเดือน (มม.) รูปแบบการกระจายตัวของฝนที่ อ.เมืองฯ จ.นครศรีธรรมราช (A) เปรียบเทียบกับการกระจายตัวของฝนในปีที่มีฝนตกในช่วงฤดูร้อน หรือให้ผลเว้นปี (B) และในปีที่มีผลผลิตสูงมาก (C)
ดัชนีการให้ผลผลิตเว้นปี ผลผลิตเฉลี่ย (กิโลกรัม/ต้น) 2547-2548 2548-2549 2549-2550 2550-2551 ดัชนีการให้ผลผลิตเว้นปี (ก) ปี พ.ศ. 0.0 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0 ผลผลิตเฉลี่ย (กิโลกรัม/ต้น) (ข) ปี พ.ศ. 25 50 75 100 2547 2548 2549 2550 2551 ดัชนีการให้ผลปีเว้นปี (ก) และผลผลิตเฉลี่ย (ข) ของมังคุด ช่วงปี 2547-2551 ในเขตฝั่งตะวันออกของ จ.นครศรีธรรมราช
เวียดนาม ออสเตรเลีย แหล่งผลิตรายย่อย ไทย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย แหล่งผลิตรายใหญ่ ธ.ค. พ.ย. ต.ค. ก.ย. ส.ค. ก.ค. มิ.ย. พ.ค. เม.ย. มี.ค. ก.พ. ม.ค. ระยะเวลา ฤดูกาลของการเก็บเกี่ยวผลผลิตมังคุดในประเทศ ที่เป็นแหล่งผลิตรายใหญ่และรายย่อย ที่มา: Osman และ Milan (2006)
ก่อนเก็บเกี่ยวผลผลิต สาเหตุการเกิดเนื้อแก้ว และยางไหล เนื้อแก้ว ยางไหล อิทธิพลของน้ำ (น้ำฝน-น้ำใต้ดิน) - น้ำสามารถซึมเข้าสู่ผลทางลำต้น-ผิวผล-ขั้วผล - เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาวะน้ำภายในผล ฝนตกต่อเนื่อง 2-3 วัน ก่อนเก็บเกี่ยวผลผลิต
บรรยากาศ คายน้ำทางปากใบ ลำต้น ราก ดิน น้ำในดิน ความต่างของศักย์ของน้ำ ภาพแสดงการเคลื่อนที่ของน้ำจากดินผ่านต้นพืช สู่บรรยากาศที่เปรียบเหมือนการเคลื่อนที่ของไฟฟ้า ที่มีความต่างศักย์ คายน้ำทางปากใบ บรรยากาศ
Ψ = -0.8 MPa Ψ = -1.2 MPa Ψ = 0 MPa Ψ = -1.2 MPa
ส่วนเชื่อมต่อระหว่างขั้วผลไปยังเนื้อผลของมังคุด
องค์ประกอบของ N,P,K ในผลมังคุด ธาตุอาหาร (%) 1.37 0.44 1.42 K 0.35 0.14 0.22 P 1.14 0.42 0.46 N เมล็ด เนื้อ เปลือก องค์ประกอบของ N,P,K ในผลมังคุด ธาตุอาหาร (%) ที่มา: ปัญจพร (2545) องค์ประกอบของธาตุอาหาร N, P และ K ในส่วนของเปลือก เนื้อ และเมล็ด
K+ กลีบของเนื้อผลที่มีเมล็ดของผลมังคุดมีโพแทสเซียมสูง ทำให้มีการดึงน้ำเข้าสู่เซลล์ ถ้ามีน้ำมากจะทำให้เกิดเนื้อแก้วได้
ไขเคลือบผิวผลของผลมังคุดและส่วนของช่องเปิดที่ผิวผล (stoma)
B A ภาพตัดขวางของท่อน้ำในทุเรียน (A), มังคุด (B)
A B เปลือกไม้ กระพี้ โครงสร้างเนื้อไม้และการจัดเรียงตัวของท่อน้ำจากการตัดตามขวาง ของกิ่งทุเรียน (A), มังคุด (B)
เปลือกผลมังคุดที่ได้รับน้ำเข้าไปมากจนทำให้ท่อน้ำยางขยายตัว
การที่ผลมังคุดได้รับน้ำมากอย่างรวดเร็วจะทำให้ผลแตก และยางไหล
แสดงผิวของผลที่เป็นเนื้อแก้ว (A) เปรียบเทียบกับผิวผลปกติ (B) และแสดงภาพตัดขวางของเปลือก (C) ในส่วนของท่อน้ำ (a) ท่อน้ำยาง (b) และ เซลล์พาเรนไคมา (c)
การติดตั้งหัววัด sapflow sensor เพื่อวัดการไหลของน้ำเข้าสู่ผล
การไหลของน้ำเข้าทางใบและผลที่ได้รับแสง (A) และที่พรางแสง (B)
แนวทางการลดปัญหา การเกิดเนื้อแก้วและยางไหล เร่งการออกดอกและติดผลให้เร็วขึ้น เพื่อหลีกเลี่ยงฝนชุกในช่วงเก็บผล ควบคุมการให้น้ำ คือ ไม่ปล่อยให้ดิน อยู่ในสภาพแห้งในช่วงการพัฒนาของผล และก่อนเก็บเกี่ยว
ต้นมังคุดที่ไม่ตัดยอด (A) และต้นมังคุดที่ตัดยอด (B)
การไว้ผลอย่างเหมาะสมโดยประเมินจากการใช้โครงลูกบาศก์ (cubic frame) ขนาด 50x50x50 ซม. สุ่มนับจำนวนผลของต้นมังคุดรอบทรงพุ่ม
การแนะนำให้เกษตรกรใส่แคลเซียมทางดิน การใส่ Ca ทางดินโดยตรง ในรูปของยิปซัม
Ca การแนะนำให้เกษตรกร ฉีดพ่น 10% CaCl2 ให้แก่ผลมังคุด อายุ 6-8 สัปดาห์
ขอบคุณ