การพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ บริษัท ทีซิส คอนเซาท์ จำกัด โทร.02-968-1002-3 Public Sector Management Quality Award สมชาติ ก้องนภา สันติกุล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
Advertisements

การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
เพื่อทบทวนระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
กรอบการนำเสนอ ส่วนที่ 2 สรุปสาระสำคัญ ส่วนที่ 1 ภาพรวม PMQA
การดำเนินการ ขั้น 1 : ◊ แต่งตั้งคณะทำงาน ◊ จัดทำแผนดำเนินการ (Roadmap) ◊ จัดประชุมชี้แจง คณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ควรประกอบด้วย.
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
1. ลักษณะองค์กร 1ก. ลักษณะพื้นฐาน ของส่วนราชการ 1ก(1) พันธกิจ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การใช้ เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หมวด2 9 คำถาม.
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ผลการ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
วัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งนี้
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน (Fundamental Level )
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กรและบุคลากร ให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล การดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กร เป็นการนำเกณฑ์
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
ก.พ.ร. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ บริษัท ทีซิส คอนเซาท์ จำกัด โทร Public Sector Management Quality Award สมชาติ ก้องนภา สันติกุล

2 1. ทิศทาง และเป้าหมายการ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ ทิศทาง และเป้าหมายการ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

3 6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ P. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และ ความท้าทาย PMQA Model 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ TQM : Framework

การกำหนดตัวชี้วัด PMQA ปี 2552 มุ่งเน้นให้จังหวัดปรับปรุงองค์การ โดยการวัดความสำเร็จของ การดำเนินการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ (Improvement Plan)มุ่งเน้นให้จังหวัดปรับปรุงองค์การ โดยการวัดความสำเร็จของ การดำเนินการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ (Improvement Plan) ส่งเสริมให้จังหวัดมีความเข้าใจ และนำเครื่องมือการบริหาร จัดการที่เหมาะสม มาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์การอย่าง ต่อเนื่องส่งเสริมให้จังหวัดมีความเข้าใจ และนำเครื่องมือการบริหาร จัดการที่เหมาะสม มาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์การอย่าง ต่อเนื่อง มุ่งเน้นให้จังหวัดสามารถดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ได้อย่างเป็นระบบมุ่งเน้นให้จังหวัดสามารถดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ได้อย่างเป็นระบบ พัฒนาเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) เพื่อเป็นกรอบการประเมินความสำเร็จ ของแผนพัฒนาองค์การ ซึ่งถือว่าเป็นกรอบแนวทางในการ ประเมินองค์กรเบื้องต้นและเป็นแนวทาง “การเปลี่ยนแปลงทีละ ขั้น”พัฒนาเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) เพื่อเป็นกรอบการประเมินความสำเร็จ ของแผนพัฒนาองค์การ ซึ่งถือว่าเป็นกรอบแนวทางในการ ประเมินองค์กรเบื้องต้นและเป็นแนวทาง “การเปลี่ยนแปลงทีละ ขั้น” มุ่งเน้นให้จังหวัดปรับปรุงองค์การ โดยการวัดความสำเร็จของ การดำเนินการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ (Improvement Plan)มุ่งเน้นให้จังหวัดปรับปรุงองค์การ โดยการวัดความสำเร็จของ การดำเนินการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ (Improvement Plan) ส่งเสริมให้จังหวัดมีความเข้าใจ และนำเครื่องมือการบริหาร จัดการที่เหมาะสม มาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์การอย่าง ต่อเนื่องส่งเสริมให้จังหวัดมีความเข้าใจ และนำเครื่องมือการบริหาร จัดการที่เหมาะสม มาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์การอย่าง ต่อเนื่อง มุ่งเน้นให้จังหวัดสามารถดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ได้อย่างเป็นระบบมุ่งเน้นให้จังหวัดสามารถดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ได้อย่างเป็นระบบ พัฒนาเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) เพื่อเป็นกรอบการประเมินความสำเร็จ ของแผนพัฒนาองค์การ ซึ่งถือว่าเป็นกรอบแนวทางในการ ประเมินองค์กรเบื้องต้นและเป็นแนวทาง “การเปลี่ยนแปลงทีละ ขั้น”พัฒนาเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) เพื่อเป็นกรอบการประเมินความสำเร็จ ของแผนพัฒนาองค์การ ซึ่งถือว่าเป็นกรอบแนวทางในการ ประเมินองค์กรเบื้องต้นและเป็นแนวทาง “การเปลี่ยนแปลงทีละ ขั้น”

ความเชื่อมโยงการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของจังหวัด ประเมินองค์กรตามแนวทาง การบริหารจัดการแบบ ADLI เพื่อ ตรวจสอบการดำเนินการในแต่ละ ข้อคำถามตามเกณฑ์ PMQA ประเมินผลการดำเนินงานจาก มาตรฐานที่กำหนดไว้ (Check List) ประเมินองค์กรตามแนวทาง การบริหารจัดการแบบ ADLI เพื่อ ตรวจสอบการดำเนินการในแต่ละ ข้อคำถามตามเกณฑ์ PMQA ประเมินผลการดำเนินงานจาก มาตรฐานที่กำหนดไว้ (Check List) รายงานผลการประเมินองค์กรด้วย ตนเองตามมาตรฐาน (Check List) การแสดงผลกราฟระดับคะแนน การประเมินองค์กร ฯ รายหัวข้อ รายงานจุดแข็ง/ OFIs พร้อมการ จัดลำดับความสำคัญ แผนปรับปรุงองค์กร 2 แผน หลักฐานสำคัญ 40 หลักฐาน (รอตรวจที่จังหวัด) รายงานผลการประเมินองค์กรด้วย ตนเองตามมาตรฐาน (Check List) การแสดงผลกราฟระดับคะแนน การประเมินองค์กร ฯ รายหัวข้อ รายงานจุดแข็ง/ OFIs พร้อมการ จัดลำดับความสำคัญ แผนปรับปรุงองค์กร 2 แผน หลักฐานสำคัญ 40 หลักฐาน (รอตรวจที่จังหวัด) ประเมินระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ ของจังหวัด ตามเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน รายหมวด (1และ 4) จัดทำแผนพัฒนาองค์การรายหมวด (หมวด 1และ 4) ปรับปรุงองค์การตามแผนที่กำหนด ประเมินองค์การตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐาน เพื่อจัดทำแผนพัฒนาองค์การปี 53 ประเมินระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ ของจังหวัด ตามเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน รายหมวด (1และ 4) จัดทำแผนพัฒนาองค์การรายหมวด (หมวด 1และ 4) ปรับปรุงองค์การตามแผนที่กำหนด ประเมินองค์การตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐาน เพื่อจัดทำแผนพัฒนาองค์การปี 53 แผนพัฒนาองค์การปี 52 (หมวด1,4) (30 ม.ค.52) รายงานแสดงตัวชี้วัดผลลัพธ์ แผนพัฒนา องค์การปี 52 (30 ม.ค.52) รายงานผลการดำเนินการ เทียบกับเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน (หมวด 1,4,7) รายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ รายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร รายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเอง ตามเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน (หมวด 1,2,3,4) แผนพัฒนาองค์การปี 53 (หมวด 2 และ 3) แผนพัฒนาองค์การปี 52 (หมวด1,4) (30 ม.ค.52) รายงานแสดงตัวชี้วัดผลลัพธ์ แผนพัฒนา องค์การปี 52 (30 ม.ค.52) รายงานผลการดำเนินการ เทียบกับเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน (หมวด 1,4,7) รายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ รายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร รายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเอง ตามเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน (หมวด 1,2,3,4) แผนพัฒนาองค์การปี 53 (หมวด 2 และ 3) ปี 2551 ปี 2552

Roadmap การพัฒนาองค์การ Roadmap การพัฒนาองค์การ จังหวัด เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง หมวด 1 :การนำองค์กร จังหวัดควรมี กระบวนการนำองค์กรที่ดี ซึ่งสอดรับ กับแนวทางการบริหารงานจังหวัดแบบ บูรณาการที่ปรับบทบาทผู้ว่าราชการ จังหวัดให้ทำหน้าที่บริหารงานโดยการ บูรณาการยุทธศาสตร์ แผนงาน/ โครงการ สรรพกำลังและทรัพยากรภาย ในจังหวัด และประสานความร่วมมือ กับทุกภาคส่วนในสังคมอย่างมีทิศทาง และเป้าหมายร่วมกัน หมวด 1 :การนำองค์กร จังหวัดควรมี กระบวนการนำองค์กรที่ดี ซึ่งสอดรับ กับแนวทางการบริหารงานจังหวัดแบบ บูรณาการที่ปรับบทบาทผู้ว่าราชการ จังหวัดให้ทำหน้าที่บริหารงานโดยการ บูรณาการยุทธศาสตร์ แผนงาน/ โครงการ สรรพกำลังและทรัพยากรภาย ในจังหวัด และประสานความร่วมมือ กับทุกภาคส่วนในสังคมอย่างมีทิศทาง และเป้าหมายร่วมกัน หมวด 4: การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ จังหวัดควรมีกระบวนการพัฒนาและปรับปรุงข้อมูล และสารสนเทศที่เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ เพื่อใช้ เป็นข้อมูลในการสนับสนุนการดำเนินการตามแผน ยุทธศาสตร์ การติดตามผลการดำเนินงานตามเป้า ประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ของจังหวัด และสนับสนุนการ ตัดสินใจของผู้บริหารจังหวัด รวมทั้งควรมีกระบวนการ ในการจัดการความรู้ในจังหวัด เพื่อให้องค์ความรู้มี การถ่ายทอด/เก็บรักษา/แบ่งปัน เพื่อให้เกิดการแลก เปลี่ยนเรียนรู้ทั่วทั้งจังหวัด หมวด 4: การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ จังหวัดควรมีกระบวนการพัฒนาและปรับปรุงข้อมูล และสารสนเทศที่เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ เพื่อใช้ เป็นข้อมูลในการสนับสนุนการดำเนินการตามแผน ยุทธศาสตร์ การติดตามผลการดำเนินงานตามเป้า ประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ของจังหวัด และสนับสนุนการ ตัดสินใจของผู้บริหารจังหวัด รวมทั้งควรมีกระบวนการ ในการจัดการความรู้ในจังหวัด เพื่อให้องค์ความรู้มี การถ่ายทอด/เก็บรักษา/แบ่งปัน เพื่อให้เกิดการแลก เปลี่ยนเรียนรู้ทั่วทั้งจังหวัด

Roadmap การพัฒนาองค์การ Roadmap การพัฒนาองค์การ จังหวัด เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง

8 2. กรอบการประเมินผลตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ กรอบการประเมินผลตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

9 การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐที่ผ่านมาตั้งแต่ ปีงบประมาณ พ.ศ – น้ำหนักร้อยละ 5 กำหนดเป็นตัวชี้วัดเลือก (ส่วนราชการเลือกจำนวน 114 ส่วนราชการ ประกอบด้วย 37 กรม 37 จังหวัด และ 40 มหาวิทยาลัย) วัดการดำเนินการแบบ Milestone มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำ เข้าใจเกณฑ์คุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ น้ำหนักร้อยละ 20 กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ วัดผลการประเมินองค์กรใน เชิงคุณภาพ มุ่งเน้นการบูรณาการตัวชี้วัด ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา องค์กรนำมาผนวกเข้ากับ ตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ โดยได้มีการประเมินองค์กร ตามแนวทางการบริหาร จัดการแบบ “ADLI” น้ำหนักร้อยละ 5 กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ วัดการดำเนินการแบบ Milestone มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำ เข้าใจเกณฑ์คุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ วิเคราะห์ โอกาสและการจัดทำแผน ปรับปรุงองค์การ

10 การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการระดับ จังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ  น้ำหนักร้อยละ 20  กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ  วัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของ แผนพัฒนาองค์การ  มุ่งเน้นให้จังหวัดปรับปรุงองค์กร ส่งเสริมให้แต่ละจังหวัดมี ความเข้าใจและนำเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสมมา ใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง  เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน เป็นกรอบการประเมินความสำเร็จของแผนพัฒนาองค์การ ซึ่งถือเป็นกรอบแนวทางในการประเมินองค์กรเบื้องต้น และ เป็นแนวทาง “การเปลี่ยนแปลงทีละขั้น”

11 ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วิธีการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐวิธีการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แนวทางที่ 1 เป็นการดำเนินการตามแนวทางของกรอบการประเมินผล การปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ ซึ่งเป็นภาคบังคับที่ทุก จังหวัดจะต้องดำเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการให้ได้ มาตรฐาน แนวทางที่ 2 เป็นการสมัครขอรับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดยมีหลักเกณฑ์และกลไกที่แตกต่างจากกรอบการประเมินผลการปฏิบัติ ราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

12 ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐใน ระดับจังหวัด 1. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐให้ครอบคลุมส่วนราชการ 1.2 การดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการประจำ จังหวัดตามข้อ 1.1 ให้พิจารณาครอบคลุมถึงทุกหน่วยงานที่อยู่ในสังกัดของส่วนราชการ นั้นๆ 1.2 การดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการประจำ จังหวัดตามข้อ 1.1 ให้พิจารณาครอบคลุมถึงทุกหน่วยงานที่อยู่ในสังกัดของส่วนราชการ นั้นๆ 1.1 ส่วนราชการประจำจังหวัด ประกอบด้วย สำนักงานจังหวัด และส่วนราชการ ประจำจังหวัดที่เป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาคและมีหน่วยงานในระดับอำเภอด้วย ได้แก่ ที่ทำการปกครองจังหวัด สำนักงานเกษตรจังหวัด สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด สำนักงาน ประมงจังหวัด สำนักงานที่ดินจังหวัด สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด และสำนักงาน สาธารณสุขจังหวัด

13 ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐใน ระดับจังหวัด 1. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐให้ครอบคลุมส่วนราชการ กรณีสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ให้นำข้อมูลผลการดำเนินงานของโรงพยาบาลใน สังกัด มาใช้ประกอบในการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดด้วย โรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด อาจไม่จำเป็นต้องดำเนินการตาม เกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของตัวชี้วัดนี้ เนื่องจากโรงพยาบาล ได้มีการนำระบบการรับรองคุณภาพของโรงพยาบาล (Hospital Accreditation : HA) มาใช้แล้วหรือจะนำมาใช้ต่อไป กรณีสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ให้นำข้อมูลผลการดำเนินงานของโรงพยาบาลใน สังกัด มาใช้ประกอบในการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดด้วย โรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด อาจไม่จำเป็นต้องดำเนินการตาม เกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของตัวชี้วัดนี้ เนื่องจากโรงพยาบาล ได้มีการนำระบบการรับรองคุณภาพของโรงพยาบาล (Hospital Accreditation : HA) มาใช้แล้วหรือจะนำมาใช้ต่อไป

14 ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐใน ระดับจังหวัด 2. หากจังหวัดมีความประสงค์จะนำส่วนราชการประจำจังหวัดอื่น ๆ นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในข้อ 1.1 มาดำเนินการด้วย ให้เป็นไปตาม ความสมัครใจ

15 ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ การประเมินผลตัวชี้วัดการประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนา องค์การ ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการ บรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการ ของจังหวัด ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ในระดับพื้นฐาน (หมวด 7) ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำ แผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ รวม20

16 ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การดำเนินการจัดทำแผนการพัฒนาองค์การ จำนวน 2 แผน ซึ่งแต่ละแผน แบ่งการประเมินผลเป็น 2 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้ ตัวชี้วัดน้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1แผนที่ 2รวม ระดับความสำเร็จของ ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ของการผ่านเกณฑ์ คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน ระดับความสำเร็จของ ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ในการบรรลุเป้าหมาย ความสำเร็จของผลลัพธ์ ในการดำเนินการตาม แผนพัฒนาองค์การ 224 รวม ระดับความสำเร็จของ การดำเนินการตาม แผนการพัฒนา องค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12)

17 ตัวชี้วัดน้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1แผนที่ 2รวม ระดับความสำเร็จของร้อยละ เฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการผ่าน เกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 448 วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยตรวจประเมินทุกข้อ ตามเกณฑ์ คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน หมวด 1 และหมวด 4 อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 3.1 และ 3.2 ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด 12.1ระดับความสำเร็จของ การดำเนินการตาม แผนการพัฒนา องค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12) ข้อที่ผ่านได้ 5 คะแนน ข้อที่ไม่ผ่านได้ 1 คะแนนยกเว้น เรื่อง GPP ให้ เป็นไปตามแนวทางของ สศช. และกรมบัญชีกลาง ค่าคะแนนของแต่ละแผนพิจารณา โดยนำค่าคะแนนที่ได้ของแต่ละข้อมา คูณกับน้ำหนักความสำคัญของข้อนั้นๆ จะได้ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนัก แล้ว รวมค่าคะแนนถ่วงน้ำหนักที่ได้ของทุกหัวข้อในแต่ละแผนฯ

18 ตัวชี้วัดน้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1แผนที่ 2รวม ระดับความสำเร็จของ ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ในการบรรลุเป้าหมาย ความสำเร็จของผลลัพธ์ ในการดำเนินการตาม แผนพัฒนาองค์การ 224 ค่าคะแนนของแต่ละแผนฯ พิจารณาวัดความสำเร็จ โดยนำผลการ ดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในแผนพัฒนาองค์กรแต่ละแผนไป เทียบกับเกณฑ์การให้คะแนนจะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนของทุกตัวชี้วัดในแผนฯมาเฉลี่ย อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 4 ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด 12.1ระดับความสำเร็จของ การดำเนินการตาม แผนการพัฒนา องค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12)

19 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด 12.2ระดับความสำเร็จของ ร้อยละเฉลี่ยถ่วง น้ำหนักในการบรรลุ เป้าหมายความสำเร็จ ของผลลัพธ์การ ดำเนินการของจังหวัด ตามเกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการ ภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) (น้ำหนักร้อยละ 4) วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ ละตัวชี้วัดในหมวด 7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐานไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน จะได้ค่าคะแนนของ แต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนที่ได้ของทุกตัวชี้วัดในหมวด 7 มา เฉลี่ย จะได้ค่าคะแนนของตัวชี้วัดที่ 12.2 อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 3.3 การประเมินผลเกณฑ์การให้คะแนน ระดับความสำเร็จของร้อยละ เฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุ เป้าหมายความสำเร็จของ ผลลัพธ์การดำเนินการของ จังหวัดตามเกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน (หมวด 7) ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

20 ตัวชี้วัดที่ 12.3 แบ่งการประเมินผลเป็น 3 หัวข้อย่อย ดังนี้ การประเมินผลน้ำหนักเกณฑ์การให้คะแนน ความครบถ้วนของการจัดทำ รายงานลักษณะสำคัญของ องค์กร (15 คำถาม) ความครบถ้วนของการจัดทำ รายงานการประเมินองค์กร ด้วยตนเองหมวด 1-4 ตาม เกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (4 หมวด) ความครบถ้วนของ แผนพัฒนาองค์การประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2553* (2 แผน) ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด 12.3ระดับความสำเร็จ เฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของ การจัดทำ แผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ (น้ำหนักร้อยละ 4)

21 การประเมินผลน้ำหนักเกณฑ์การให้คะแนน ความครบถ้วนของการจัดทำ รายงานลักษณะสำคัญของ องค์กร (15 คำถาม) อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 5 พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ในการตอบคำถามจำนวน 15 คำถาม ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด 12.3ระดับความสำเร็จ เฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของ การจัดทำ แผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ (น้ำหนักร้อยละ 4)

22 การประเมินผลน้ำหนักเกณฑ์การให้คะแนน ความครบถ้วนของการจัดทำ รายงานการประเมินองค์กร ด้วยตนเองหมวด 1-4 ตาม เกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (4 หมวด) อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 6 พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ของการรายงานการประเมินองค์กร ด้วยตนเองหมวด 1-4 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด 12.3ระดับความสำเร็จ เฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของ การจัดทำ แผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ (น้ำหนักร้อยละ 4)

23 การประเมินผลน้ำหนักเกณฑ์การให้คะแนน ความครบถ้วนของ แผนพัฒนาองค์การประจำปี งบประมาณ พ.ศ (2 แผน) อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 7 พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ของแผนพัฒนาองค์การแต่ละแผน ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด 12.3ระดับความสำเร็จ เฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของ การจัดทำ แผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ (น้ำหนักร้อยละ 4)

24 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การรายงานสรุปค่าคะแนนของตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการ พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มีแนวทางดังนี้ 12.1 ระดับความสำเร็จของการ ดำเนินการตามแผนการ พัฒนาองค์การ 12.2 ระดับความสำเร็จของร้อย ละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการ บรรลุเป้าหมาย ความสำเร็จของผลลัพธ์ การดำเนินการของจังหวัด ตามเกณฑ์คุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐใน ระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ย ถ่วงน้ำหนักของการจัดทำ แผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ แบบฟอร์มที่ 8 แบบฟอร์มรายงานผลระดับคะแนนระดับ ความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ รายงานค่าคะแนนของตัวชี้วัดย่อย/หัวข้อย่อย รายงานค่าคะแนนถ่วงน้ำหนักของตัวชี้วัดย่อย/หัวข้อย่อย โดย การนำค่าคะแนนที่ได้ของแต่ละตัวชี้วัดย่อย/หัวข้อย่อยไปคูณกับ น้ำหนักของแต่ละตัวชี้วัดย่อย/หัวข้อย่อยที่กำหนดไว้ รายงานค่าคะแนนสุดท้ายของตัวชี้วัดที่ 12 โดยการรวมค่า คะแนนถ่วงน้ำหนักของทุกตัวชี้วัดย่อย/หัวข้อย่อย ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

25 แบบฟอร์มที่ 8 แบบฟอร์มรายงานผลระดับคะแนนระดับความสำเร็จ ของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด 12.1 ระดับความสำเร็จของการ ดำเนินการตามแผนการ พัฒนาองค์การ 12.2 ระดับความสำเร็จของร้อย ละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการ บรรลุเป้าหมาย ความสำเร็จของผลลัพธ์ การดำเนินการของจังหวัด ตามเกณฑ์คุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐใน ระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ย ถ่วงน้ำหนักของการจัดทำ แผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

26 ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัดวิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 2. การจัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของ กระบวนการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนา องค์การ 3. ดำเนินการปรับปรุงองค์กรตาม แผนพัฒนาองค์การของปีงบประมาณ พ.ศ การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ ระดับพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ การรายงานผลการดำเนินการตาม ตัวชี้วัด 6. การตรวจประเมินจากผู้ตรวจประเมิน ภายนอก 1. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนา องค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ แบบฟอร์มที่ 1: แบบฟอร์ม แผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ แบบฟอร์มที่ 2: แบบฟอร์มแสดง ตัวชี้วัดความสำเร็จ ของการดำเนินการตาม แผนพัฒนาองค์การประจำปี งบประมาณ พ. ศ. 2552

ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ประเมินองค์กรเทียบกับ เกณฑ์ในระดับพื้นฐาน 1 วิเคราะห์ OFI และแผนปรับปรุง ปี 51 จัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของ กระบวนการและผลลัพธ์ จัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของ กระบวนการและผลลัพธ์ จัดทำแผนพัฒนาองค์การ 2 แผน 2 ดำเนินการ ปรับปรุง 3 รายงานผลการ ดำเนินการ 5 ตรวจประเมินจากผู้ตรวจ ประเมินภายนอก 6 P M Q A Si te - Vi sit ประเมินองค์กรตาม เกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐานเพื่อ จัดทำแผนพัฒนา องค์การ ปี 53 4 แผนหมวด 1 และ แผนหมวด 4

28 แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ ต.ค.พ.ย.ธ.ค.ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย.ต.ค.พ.ย. 1.จัดคลีนิกให้คำปรึกษาโดย สำนักงาน ก.พ.ร. 2.การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนา องค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ จังหวัดนำโอกาสในการ ปรับปรุงจากผลการประเมินองค์กรด้วย ตนเองและแผนปรับปรุงองค์กรของ ปีงบประมาณ พ.ศ. 251 มาทบทวนโดย เทียบกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐระดับพื้นฐาน ครั้งที่ 1 จัดทำแผนพัฒนาองค์การ ครั้งที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงองค์กร ครั้งที่ 3 ติดตาม ผลการ ปรับปรุง และแนะนำ การตรวจประเมินปฏิทินการดำเนินการ

29 แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ ต.ค.พ.ย.ธ.ค.ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย.ต.ค.พ.ย. - จัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ จำนวน 2 แผน 3. การจัดทำตัวชี้วัด ความสำเร็จของกระบวนการและ ผลลัพธ์ 4. ดำเนินการปรับปรุงองค์กร ตามแผนพัฒนาองค์การของ ปีงบประมาณ พ.ศ ประเมินองค์กรตามเกณฑ์ ระดับพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ การรายงานผลการ ดำเนินการตามตัวชี้วัดรอบ 6 เดือน และ 12 เดือน 7. การตรวจประเมินจาก ผู้ตรวจประเมินภายนอก ส่ง 30 ม.ค. 52 ปฏิทินการดำเนินการ ส่ง 30 ต.ค. 52

30 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนา องค์การ ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการ บรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการ ของจังหวัด ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน (หมวด 7) ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำ แผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ รวม20 ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

31 การรายงานผลตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับ จังหวัด การส่งมอบงานการส่งมอบงาน แบบฟอร์มที่ ภายในวันที่ 30 ตุลาคม 2552 หากจัดส่งไม่ทันในระยะเวลาที่กำหนดจะปรับลดคะแนนจากผลคะแนนรวม ของตัวชี้วัดนี้ คะแนน แบบฟอร์มที่ 1 และ 2 ภายในวันที่ 30 มกราคม 2552 จังหวัดจัดส่งรายงานการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ จำนวน 4 ชุดข้อมูลบรรจุในแผ่นซีดีรอม จำนวน 2 แผ่น จังหวัดจัดส่งรายงานการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ จำนวน 4 ชุดข้อมูลบรรจุในแผ่นซีดีรอม จำนวน 2 แผ่น จำนวนที่กำหนดนี้ ได้รวมถึงการส่งเอกสารหลักฐานแนบตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการรอบ 12 เดือนด้วยแล้ว) ไปยังสำนัก บริหารการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม สำนักงาน ก.พ.ร. จำนวนที่กำหนดนี้ ได้รวมถึงการส่งเอกสารหลักฐานแนบตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการรอบ 12 เดือนด้วยแล้ว) ไปยังสำนัก บริหารการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม สำนักงาน ก.พ.ร. จังหวัดจัดส่งรายงานการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ จำนวน 4 ชุดข้อมูลบรรจุในแผ่นซีดีรอม จำนวน 2 แผ่น จังหวัดจัดส่งรายงานการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ จำนวน 4 ชุดข้อมูลบรรจุในแผ่นซีดีรอม จำนวน 2 แผ่น จำนวนที่กำหนดนี้ ได้รวมถึงการส่งเอกสารหลักฐานแนบตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการรอบ 12 เดือนด้วยแล้ว) ไปยังสำนัก บริหารการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม สำนักงาน ก.พ.ร. จำนวนที่กำหนดนี้ ได้รวมถึงการส่งเอกสารหลักฐานแนบตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการรอบ 12 เดือนด้วยแล้ว) ไปยังสำนัก บริหารการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม สำนักงาน ก.พ.ร.

32 แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการแบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการ การรายงานผลตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด แบบฟอร์มที่ 1แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ แบบฟอร์มที่ 2 แบบฟอร์มแสดงตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตาม แผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ แบบฟอร์มที่ 3 แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการเมื่อเทียบกับเกณฑ์คุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน แบบฟอร์มที่ 4แบบฟอร์มรายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ แบบฟอร์มที่ 5แบบฟอร์มรายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร แบบฟอร์มที่ 6 แบบฟอร์มรายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์ คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน แบบฟอร์มที่ 7แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ แบบฟอร์มที่ 8แบบฟอร์มรายงานผลระดับคะแนนระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

หมวด 1 การนำองค์กร เป็นการตรวจประเมินว่าผู้บริหาร ของจังหวัดดำเนินการอย่างไรในเรื่องวิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์หรือความคาดหวังในผล การดำเนินการ รวมถึงการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหลาย การกระจายอำนาจ การตัดสินใจ การสร้างนวัตกรรมและการเรียนรู้ ในจังหวัด รวมทั้งตรวจประเมินว่าจังหวัดมีการกำกับดูแล ตนเองที่ดี และดำเนินการเกี่ยวกับความรับผิดชอบ ต่อสังคมและชุมชนอย่างไร ทบทวน PMQA 33

หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการ ความรู้ เป็นการตรวจประเมินว่า จังหวัดเลือก รวบรวม วิเคราะห์ จัดการและปรับปรุง ข้อมูลและสารสนเทศ และจัดการความรู้ อย่างไร ทบทวน PMQA 34

35 3. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน ระดับพื้นฐาน

องค์ประกอบ เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) ส่วนที่ 1 เกณฑ์ Fundamental Level ส่วนที่ 2 คำอธิบายแนวทางดำเนินการ ส่วนที่ 3 หลักเกณฑ์การพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วนสมบูรณ์ เพื่อให้ผ่านเกณฑ์ Fundamental Level

ตัวอย่างการประเมินตาม เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) PM 4จังหวัดต้องมีระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อการ จัดการกระบวนการ เพื่อให้จังหวัดสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง เกณฑ์ หมวด 6 คำอธิบาย จังหวัดมีวิธีการเพื่อทำให้มั่นใจว่าระบบงานและสถานที่ทำงานมีการเตรียมพร้อมต่อภัยพิบัติ หรือ ภาวะฉุกเฉิน และระบบการเตรียมความพร้อมต่อภัยพิบัติ และภาวะฉุกเฉิน ซึ่งได้คำนึงถึงการ ป้องกัน การจัดการความต่อเนื่องของการดำเนินการ และการทำให้คืนสู่สภาพเดิม ภัยพิบัติ และภาวะฉุกเฉินอาจเกี่ยวข้องกับสภาพอากาศ สาธารณูปโภค ความปลอดภัย การ จราจล หรือเกิดจากภาวะฉุกเฉินในระดับท้องถิ่นหรือระดับชาติ วิธีการประเมิน A - แสดงแผนสำรองฉุกเฉิน เพื่อป้องกับผลกระทบกับการจัดการกระบวนการ ในกรณีที่เกิดภาวะฉุกเฉิน D - สื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในแผนสำรองฉุกเฉินรับทราบถึงแนวทางปฏิบัติ L - มีการทบทวนเพื่อปรับปรุงแผนสำรองฉุกเฉินให้เหมาะสมทันสมัยอยู่เสมอ I - แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงของระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่อการดำเนินการ ตามพันธกิจหลักของจังหวัดว่าจะสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง ผ่าน / ไม่ผ่าน – จะผ่านต่อเมื่อทำครบทุก bullet

“ ระดับพื้นฐาน ” หมายถึง กระบวนการเริ่ม ได้ผล “ ระดับพื้นฐาน ” หมายถึง กระบวนการเริ่ม ได้ผล  มีกระบวนการ/ระบบที่มีประสิทธิภาพและทำอย่างเป็นระบบเพื่อรองรับ กิจกรรมในหัวข้อที่ประเมิน (Approach)  กระบวนการ/ระบบ เป็นที่เข้าใจยอมรับ และเริ่มมีบทบาทสนับสนุน กระบวนการ/กิจกรรมในกิจกรรมด้านนี้ (Deployment)  องค์กรเริ่มมีการประเมินประสิทธิผลของกระบวนการ/ระบบของกิจกรรมด้านนี้ อาจมีการปรับปรุงให้กระบวนการ/ระบบให้ดีขึ้นบ้าง (Learning)  กระบวนการ/ระบบเกี่ยวกับกิจกรรมด้านนี้สอดรับ สนับสนุนกิจกรรมระดับ สำคัญขององค์กรที่ระบุไว้ในภารกิจ/ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ (Integration) เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ในระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 39

40 รหัสแนวทางการดำเนินการ การนำองค์การ LD1 จังหวัด/ผู้บริหารต้องมีการกำหนดทิศทางการทำงานที่ชัดเจน ครอบคลุมในเรื่องวิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์หรือผลการดำเนินการที่คาดหวังขององค์การ โดยมุ่งเน้นผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งมีการสื่อสารเพื่อถ่ายทอดทิศทางดังกล่าวสู่บุคลากร เพื่อให้เกิด การรับรู้ ความเข้าใจ และการนำไปปฏิบัติของบุคลากร อันจะส่งผลให้การดำเนินการบรรลุผล ตามเป้าประสงค์ที่ตั้งไว้ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8) LD 2ผู้บริหารจังหวัดมีการเพิ่มอำนาจในการตัดสินใจ(empowerment) ให้แก่เจ้าหน้าที่ระดับ ต่างๆ ภายในองค์การ โดยมีการมอบอำนาจให้กับผู้ดำรงตำแหน่งอื่นในจังหวัดเดียวกัน (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 27) LD 3ผู้บริหารของจังหวัดส่งเสริมให้มีกระบวนการและกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการบูรณา การและสร้างความผูกพัน ร่วมมือภายในองค์การ รวมถึงการสร้างแรงจูงใจเพื่อให้ บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้ตามเป้าหมาย (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 11) LD 4จังหวัด/ผู้บริหารต้องกำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญ และกำหนดให้มีระบบการติดตามและ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ สำหรับใช้ในการทบทวนผลการปฏิบัติงานและนำผลการ ทบทวนดังกล่าวมาจัดลำดับความสำคัญ เพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงการดำเนินงานของส่วน ราชการให้ดีขึ้น (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8) หมวด 1 การนำองค์การ

41 รหัสแนวทางการดำเนินการ ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม LD 5 จังหวัด/ผู้บริหารต้องมีการกำหนดนโยบายในการกำกับดูแลองค์การที่ดี (Organizational Governance) เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานของจังหวัด และเพื่อให้ การดำเนินการบรรลุผล จังหวัดต้องจัดทำแนวทางปฏิบัติ มาตรการ/โครงการรองรับ นโยบายการกำกับดูแลตนเองที่ดีดังกล่าว (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8 (2)) LD 6 จังหวัดต้องจัดให้มีระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงที่ดี รวมถึง พัฒนาระบบตรวจสอบภายในให้เป็นไป ตามแนวทางของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8 (2)) LD 7จังหวัด/ผู้บริหารต้องกำหนดให้มีวิธีการหรือมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบ ที่เกิดขึ้นต่อสังคม อันเป็นผลมาจากการดำเนินการของจังหวัด รวมทั้งต้องนำวิธีการหรือ มาตรการที่กำหนดไว้ไปปฏิบัติ(พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8(3)) หมวด 1 การนำองค์การ

42 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ (สำหรับจังหวัด) รหัสแนวทางการดำเนินการ การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการ IT1จังหวัดต้องมีระบบฐานข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติ ราชการ รวมทั้งผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ที่ ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 9 (3)) การจัดการ สารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และความรู้ IT2จังหวัดต้องมีระบบฐานข้อมูลเพื่อพัฒนาจังหวัด ที่ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย IT3จังหวัดต้องมีระบบและสามารถคำนวณสถิติผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) ที่ ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย IT4จังหวัดต้องมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ได้อย่างเหมาะสม (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 39) IT5จังหวัดต้องมีระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย (Warning System) เช่น การกำหนด ระบบการเตือนภัยแบบสัญญาณไฟจราจร การจัดตั้งห้องปฏิบัติการ (Operation Room, Management Cockpit, War Room) ที่บ่งชี้ถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น IT6จังหวัดต้องมีการนำระบบบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศไปใช้ IT7จังหวัดต้องมีการจัดทำแผนการจัดการความรู้ และนำแผนไปปฏิบัติ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 11)

หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ รหัสแนวทางการดำเนินการเกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) มิติด้านประสิทธิผล RM 1ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของแผนปฏิบัติการที่จังหวัดดำเนินการได้ สำเร็จตามเป้าหมาย มิติด้านคุณภาพการให้บริการ RM 2ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการ ให้บริการและการดำเนินงานของจังหวัด มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ RM 3ร้อยละเฉลี่ยของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลา ที่กำหนดของกระบวนการที่สร้างคุณค่า (จำนวน 2 กระบวนการที่ได้ จัดทำคู่มือปฏิบัติงานในปี งปม หลักฐานที่ 39) RM 4ร้อยละเฉลี่ยของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลา ที่กำหนดของกระบวนการสนับสนุน (จำนวน 2 กระบวนการที่ได้จัดทำ คู่มือปฏิบัติงานในปี งปม หลักฐานที่ 40) RM 5กรณีจังหวัดที่มีงบลงทุน - ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน กรณีจังหวัดไม่มีงบลงทุน - ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายในภาพรวม RM 6ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง

หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ รหัสแนวทางการดำเนินการเกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) มิติด้านการพัฒนาองค์กร RM 7ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาขีดสมรรถนะตาม แผนพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากร หรือแผนพัฒนา บุคลากร RM 8ร้อยละของความครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัยของ ฐานข้อมูลที่สนับสนุนยุทธศาสตร์อย่างน้อย 1 ประเด็น ยุทธศาสตร์ RM 9ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม ตามแผนการจัดการความรู้ อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ RM 10ร้อยละความสำเร็จของโครงการตามนโยบายการกำกับดูแล องค์การที่ดีอย่างน้อยด้านละ 1 โครงการ

45 4. การจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ การจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

แนวทางการวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ กิจกรรมหลัก จัดทำแผนพัฒนา องค์การ แบบฟอร์มที่ 1 แบบฟอร์มแผนพัฒนา องค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ OFI แผนปรับปรุงองค์กร ปี 51 เกณฑ์คุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ ในระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) ปี 52 ขั้นตอน/วิธีการ แผนงาน 46

กิจกรรมหลัก ครอบคลุมขอบเขตเกณฑ์คุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) –หมวด 1 LD1 - LD7 –หมวด 4 IT1 – IT7 ชื่อแผนพัฒนาองค์การ สั้น ๆ กระชับ แสดงถึงขอบเขต 47

P – D – C – A ก่อน – หลัง ระยะเวลา ผลลัพธ์ ผู้รับผิดชอบ ผู้เกี่ยวข้อง งบประมาณ กิจกรรมหลักขั้นตอน / วิธีการ แผนงาน 48

    วิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์ ผลการ ดำเนินการที่คาดหวังขององค์การ  สื่อสารไม่ทั่วถึง  ไม่มีการติดตามประเมินผลการสื่อสาร  ความสอดคล้องกันยังไม่สมบูรณ์ 49

กิจกรรมหลัก : การทบทวนและพัฒนา ช่องทางการสื่อสาร ขั้นตอน / วิธีการ : 1) ประชุมคณะทำงานทบทวนวิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์ และผลการดำเนินการที่คาดหวัง ขององค์การ 2) สำรวจความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับ ช่องทางในการสื่อสารที่เหมาะสม 3) พัฒนาช่องทางในการสื่อสารวิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์ และผลการดำเนินการที่ คาดหวังขององค์การ อย่างน้อย 3 ช่องทาง 4) สื่อสารและถ่ายทอดวิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์ และผลการดำเนินการที่คาดหวัง ขององค์การ ไปยังบุคลการ ตามช่องทางที่ กำหนด 5) ติดตามประเมินผลการสื่อสารวิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์ และผลการดำเนินการที่ คาดหวังขององค์การ 6) สรุปผลและดำเนินการพัฒนา ปรับปรุงวิธีการ และช่องทางการสื่อสาร 50

สรุป ซักถาม บริษัท ทีซิส คอนเซาท์ จำกัด โทร