กลุ่มวิจัยธาลัสซีเมีย R2R, B2B, M2C กลุ่มวิจัยธาลัสซีเมีย
ความเป็นมาของกลุ่มวิจัย 1. 20 ปี+ คณะแพทยศาสตร์ + คณะเทคนิคการแพทย์ (โลหิตวิทยา) 2. กุมารเวชศาสตร์, อายุรศาสตร์, สูติศาสตร์, เทคนิคการแพทย์ 3. การรวมกลุ่มเพื่อขอทุนวิจัย สกว. 4. ทุนกลุ่มวิจัยคณะแพทย์ศาสตร์ 2545 มีการขยายไป ในภาควิชาอื่น ๆ ในคณะแพทยศาสตร์, คณะอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัย
ชุดโครงการวิจัย กลุ่มวิจัยได้รวบรวมองค์ความรู้เรื่อง ธาลัสซีเมีย 2546 กลุ่มวิจัยได้รวบรวมองค์ความรู้เรื่อง ธาลัสซีเมีย 2546 ชุดโครงการวิจัยโดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยขอนแก่น 2546 - 2548
ผลงาน ปี 2546 จำนวน 14 โครงการ ปี 2547 จำนวน 15 โครงการ ปี 2546 จำนวน 14 โครงการ ปี 2547 จำนวน 15 โครงการ ปี 2548 จำนวน 15 โครงการ
ผลของโครงการ โครงการที่ 1 และ 2 โครงการที่ 1 และ 2 การศึกษาปัจจัยเกี่ยวข้องกับความรุนแรงของ โรคในบิดามารดาในผู้ป่วยบีต้าธาลัสซีเมีย *ปัจจัยที่สำคัญ คือ beta - globin gene. Hb E beta-28(A-G) - thalassemia เป็น mild form.
ผู้ป่วย Hb E beta-28(A-G)-thalassemia มีอาการน้อยมากหรือไม่มี ไม่ควรต้องทำ prenatal diagnosis. 2. ในการทำ prenatal diagnosis หากพบว่าบุตร ในครรภ์เป็น Hb E beta-thalassemia ควรทำ fetal DNA analysis เพื่อ rule out Hb E beta-28(A-G)-thalassemia
โครงการที่เกี่ยวข้องกับ. การเปลี่ยนแปลงทางหัวใจ โครงการที่เกี่ยวข้องกับ * การเปลี่ยนแปลงทางหัวใจ * การเปลี่ยนแปลงสมรรถภาพปอด * การเจ็บป่วย, หน้าตา - พบว่าบีต้าธาลัสซีเมียฮีโมโกลบินอีชนิดรุนแรงและไม่รุนแรงไม่แตกต่างกัน, ไม่พบแผลเรื้อรังที่ขาเลย - การรักษาที่ดีได้แก่ การให้เลือด การให้ยาขับธาตุ เหล็ก ทำให้ผู้ป่วยมีสุขภาพดีขึ้น
การศึกษาภาวะโภชนาการในผู้ป่วย บีต้าธาลัสซีเมียฮีโมโกลบินอี การศึกษาภาวะโภชนาการในผู้ป่วย บีต้าธาลัสซีเมียฮีโมโกลบินอี ได้ผลิตคุ้กกี้ที่มีสูตรอาหารเสริมพิเศษ เพื่อเพิ่มปริมาณธาตุสังกะสีและวิตามินเอ
การเปลี่ยนแปลงสถานภาพธัยออลต่อ เมแทบอลิซึมของไนตริกออกไซด์ การเปลี่ยนแปลงสถานภาพธัยออลต่อ เมแทบอลิซึมของไนตริกออกไซด์ Glutathione , MDA, NO แสดงว่าผู้ป่วยอยู่ในภาวะ oxidative stress และร่างกายพยายามปรับสภาพต่อ oxidative stress
ความสามารถของระบบเอนไซม์ เปลี่ยนแปลงยา Activity ของ CYP1A2 ไม่เปลี่ยน แปลงอย่างมีนัยสำคัญในผู้ป่วยที่อยู่ ใน stable condition แต่ activity ของ CYP3A4 ต่ำลงในผู้ป่วยที่ตัดม้ามแล้ว
สภาพจิตใจและสังคมของผู้ป่วย โมโห หงุดหงิด เหนื่อยง่าย การทำกิจกรรมได้จำกัด ตัวเล็ก ภาพลักษณ์ หน้าตาเปลี่ยน เศร้าใจ, น้อยใจในชะตาชีวิต
ผลกระทบด้านจิตใจต่อพ่อแม่ สงสารลูก เจ็บปวดใจ เศร้าใจ น้อยใจในโชคชะตา ที่ทำไมลูกของตนเป็น ลูกคนอื่นไม่เป็น ท้อแท้, กังวล, รู้สึกผิดที่มีส่วนโดยตรงทำให้ลูกเป็นโรค
การศึกษาอายุเลือดที่เหมาะสม พบว่าการให้เลือดที่มีอายุน้อยกว่า 3 วัน และเลือดที่มีอายุ 7 วัน ไม่มีความแตกต่าง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในการลดลงของ Hb เมื่อติดตามที่ 3 สัปดาห์
การศึกษาเรื่องเชื้อ Pythium insidiosum สรุปว่า จำนวน copy ของ 18 SrRNA gene ในเชื้อ P. insidiosum มีไม่น้อยกว่า 2 copy และการวินิจฉัย P. insidiosum โดย PCR มีความจำเพาะถึงร้อยละ 100 และมีความไวถึงร้อยละ 97
ความสำเร็จ การสนับสนุนของคณะแพทยศาสตร์ * หน่วยระบาดวิทยา * ทุนสนับสนุนกลุ่มวิจัย การสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยขอนแก่น