การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน K H O N A E UNIV. การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน การวิเคราะห์ระบบเป็นงานขั้นแรกในการวางแผนสำนักงาน วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ระบบ ช่วยให้ฝ่ายบริหารเข้าใจ วิธีปฏิบัติ กระบวนการปฏิบัติและระบบต่าง ๆ และหาหนทางปรับปรุงแก้ไขให้การปฏิบัติงาน ต่าง ๆ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด ช่วยให้การควบคุมการปฏิบัติงานเป็นไปตามแผนขององค์การและก่อให้เกิดการประสานงานที่ดีต่อกัน
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน K H O N A E UNIV. การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน วิธีปฏิบัติ (Method) หมายถึง แบบหรือท่าทีในการดำเนินงานชนิดใดชนิดหนึ่ง กระบวนการปฏิบัติ (Procedure) วิธีการปฏิบัติงานที่เลือกไว้โดยเฉพาะว่า จะต้องทำอะไรบ้างเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ สิ่งสำคัญของระเบียบวีธีปฏิบัติงาน จะระบุลำดับขั้นตอนของการทำงานที่มีบุคคลหลาย ๆ ฝ่ายเกี่ยวข้องกันเพื่อให้บรรลุผลตามที่มุ่งไว้ เรียกว่า Workflow ระบบ (System) หมายถึง กระบวนการปฏิบัติงานหลาย ๆ อย่าง ซึงเกี่ยวข้องกัน โดยมีจุดมุ่งหมายให้กิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งขององค์การลุล่วงไป ระบบจึงประกอบด้วยกระบวนการปฏิบัติต่าง ๆ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน
การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) K H O N A E UNIV. การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) แผนภูมิที่ใช้ในการวิเคราะห์ระบบ เพื่อความเข้าใจในโครงสร้างในการปฏิบัติงาน ผังการแบ่งงาน (Work Distribution Chart) ผังการแบ่งหน้าที่และงาน ความรับผิดชอบต่าง ๆ ประกอบด้วย การจัดทำรายการแสดงลักษณะงาน (Activity list) การจัดทำรายการแสดงปริมาณงานในความรับผิดชอบ การจัดทำผังการแบ่งงาน (Work Distribution Chart) แผนภูมิสายทางเดินของงาน (Process Chart) เป็นแผนภูมิที่แสดงทิศทางของการปฏิบัติงานตามลำดับขั้นตอนของงานใดงานหนึ่ง หรือหลาย ๆ งานรวมกันก็ได้ หรืออาจแสดงเฉพาะบางส่วนของงานหรือกระบวนการทุกขั้นตอนก็ได้
หน้าที่และกิจกรรมในการวิเคราะห์ระบบ K H O N A E UNIV. หน้าที่และกิจกรรมในการวิเคราะห์ระบบ วิเคราะห์และกำหนดวิธีปฏิบัติ กระบวนการปฏิบัติที่จำเป็น ศึกษาหาวิธีการทำงานให้ง่ายขึ้น ศึกษาเวลาและการเคลื่อนไหวในการปฏิบัติงาน วิเคราะห์ ออกแบบ ปรับปรุง และบริหารแบบฟอร์ม วิเคราะห์ ออกแบบ ปรับปรุง และควบคุมจดหมาย และรายงานต่าง ๆ วิเคราะห์ ออกแบบ ปรับปรุง และควบคุมการกระจายข้อมูลวิเคราะห์ ออกแบบ ปรับปรุง และควบคุมระบบการจัดเก็บเอกสารและการบริหารงานเอกสาร
หน้าที่และกิจกรรมในการวิเคราะห์ระบบ K H O N A E UNIV. หน้าที่และกิจกรรมในการวิเคราะห์ระบบ การวางแผนด้านกำลังคน การกำหนดตารางเวลาในการปฏิบัติงาน การจัดแผนผังสำนักงานและการบริหารพื้นที่ต่าง ๆ การกำหนดงบประมาณสำหรับงานสำนักงาน การวิจัยการปฏิบัติงาน วิธีการควบคุมด้านคุณภาพ ปริมาณ เวลาและค่าใช้จ่าย การตรวจสอบการบริหารงาน
ขั้นตอนในการจัดระบบ K H O N A E การกำหนดวัตถุประสงค์ของสำนักงาน UNIV. ขั้นตอนในการจัดระบบ การกำหนดวัตถุประสงค์ของสำนักงาน การกำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบของบุคลากร การรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ การวิเคราะห์จัดระบบและปรับปรุงงาน
วงจรในการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle : SDLC)
วงจรในการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle : SDLC) K H O N A E UNIV. วงจรในการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle : SDLC) ค้นหาและเลือกสรรโครงการ (Project Identification and Selection) ริเริ่มและวางแผนโครงการ (Project Initiation and Planning) วิเคราะห์ระบบ (Analysis) ออกแบบระบบ (Design) พัฒนาและติดตั้งระบบ (Implementation) บำรุงรักษาระบบ (Maintenance)
แบบจำลองของข้อมูล คือ E-R Diagram และ Data Dictionary เขียนแผนภาพแสดงกระบวนการทำงาน (Process Modeling) การสร้างแบบจำลองของข้อมูล (Data Modeling) แบบจำลองของข้อมูล คือ E-R Diagram และ Data Dictionary แบบจำลองของกระบวนการทำงาน คือ Data Flow Diagram การอธิบายกระบวนการทำงาน เช่น Structure English Decision Table Decision Tree
สัญลักษณ์ Data Flow Diagram
กฎเกณฑ์การวาด DFD Process Data Store External Entity Data Flow Process ต้องมีทั้ง Input และ Output Data flow ไม่มี input อย่างเดียว ไม่มี output อย่างเดียว ชื่อของ process ต้องเป็นคำกิริยา เช่น รับคำสั่งซื้อ Data Store ไม่มี data flow จาก data store ไปยัง data store ไม่มี data flow จาก external entity ไปยัง data store ไม่มี data flow จาก data store ไปยัง external entity Data store ตั้งชื่อเป็นคำนาม เช่น แฟ้มข้อมูลลูกค้า External Entity ไม่มี data flow จาก external entity ไป external entity ชื่อของ external entity เป็นคำนาม เช่น ลูกค้า Data Flow data flow มีหัวลูกศรทางเดียวไม่มีไป-กลับ data flow 1 เส้นไม่แตกออกเป็น 2 เส้น แต่ข้อมูลคนละตัว ไม่มี data flow มา join กลายเป็นข้อมูลตัวเดียว Data flow ไม่ไหลเข้า process เดิม Data flow ไหลเข้า data store หมายถึงการ update และไหลออก หมายถึงการดึงข้อมูล ชื่อของข้อมูลเป็นคำนาม
Balancing DFD When decomposing a DFD, you must conserve inputs to and outputs from a process at the next level of decomposition
Context Diagram
Data Flow Diagram Level 0
Data Flow Diagram Level 1
Data Flow Diagram level 1
The progression of models from logical to physical Current Logical Data Flow Diagram New Logical Data Flow Diagram New Physical Data Flow Diagram วาดแผนภาพแสดงการไหลของข้อมูลของระบบเดิม วาดแผนภาพแสดงการไหลของข้อมูลของระบบใหม่ที่ต้องการ วาดแผนภาพแสดงการไหลของข้อมูลของระบบใหม่โดยระบุวิธีการดำเนินการ เช่น Hardware, Software, Data
Logical Data Flow Diagram level 0 : ระบบรับชำระค่าสินค้า
Physical Data Flow Diagram 0 : ระบบรับชำระค่าสินค้า