กลุ่มที่ 3 ธรรมาภิบาลทางการเมืองกับนโยบายเศรษฐกิจ กลุ่มที่ 3 ธรรมาภิบาลทางการเมืองกับนโยบายเศรษฐกิจ ประธานกลุ่ม ดร. วรพล โสคติยานุรักษ์ รองประธาน สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
กรอบความคิด 1. วิกฤติเศรษฐกิจเป็นวิกฤติของธรรมาภิบาล 2. ธรรมาภิบาลเศรษฐกิจ เชื่อมโยงกับธรรมาภิบาลทางการเมือง
บทความและผู้นำเสนอ (1) 1. เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการปราบคอร์รัปชั่น โดย ศ.ดร. เมธี ครองแก้ว กรรมการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป. ป. ช.) 2. ธรรมาภิบาลในการกำกับดูแลตลาดหลักทรัพย์ฯ โดย คุณสฤณี อาชวานันทกุล นักวิชาการอิสระ
บทความและผู้นำเสนอ (2) 3. การผูกขาดทางธุรกิจกับการเมือง โดย ดร. เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ ทีดีอาร์ไอ 4. ทุนสัมปทานกับธรรมาภิบาลทางเศรษฐกิจ โดย ดร. สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ ทีดีอาร์ไอ
เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการปราบคอร์รัปชั่น ศ.ดร. เมธี ครองแก้ว กรรมการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป. ป. ช.)
เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการปราบคอร์รัปชั่น (1) เศรษฐศาสตร์สามารถวิเคราะห์ปัญหาคอร์รัปชั่น เพื่อความเข้าใจและเสนอการแก้ไข คอร์รัปชั่นสร้างความไร้ประสิทธิภาพทางเศรษฐศาสตร์ และสร้างความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ
เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการปราบคอร์รัปชั่น (2) คอร์รัปชั่นเกิดจากอำนาจตัดสิน (discretionary power) “ค่าเช่าทางเศรษฐกิจ” (economic rent) และ สถาบันที่อ่อนแอ (weak institution) ลดคอร์รัปชั่นโดยการสร้างสถาบันที่เข้มแข็ง ไม่เปิดให้เจ้าหน้าที่อำนาจในการตัดสินโดยไม่โปร่งใส เพิ่มการตรวจสอบและลด “ค่าเช่าทางเศรษฐกิจ” ข้อถกเถียงเรื่อง “ระบบดี” vs “คนดี”
ธรรมาภิบาลในการกำกับดูแล ตลาดหลักทรัพย์ ธรรมาภิบาลในการกำกับดูแล ตลาดหลักทรัพย์ คุณสฤณี อาชวานันทกุล นักวิชาการอิสระ
ความท้าทายในการกำกับดูแล (1) สัดส่วนของนักลงทุนรายย่อย (free float) ยังต่ำมาก แต่ซื้อขายสูงสุด สะท้อนการเก็งกำไร? กรรมการของ ตลท. ยังไม่มีตัวแทนนักลงทุน รัฐและองค์กรกึ่งรัฐถือหุ้นอย่างน้อย 22.1% ในตลาดหุ้น องค์กรรัฐและเจ้าหน้าที่รัฐในตลาดทุนมี “หมวกหลายใบ” ก.ล.ต. มีสัดส่วนกรรมการจากภาคการเมืองสูงมาก กระทรวงการคลัง ก.ล.ต. กำกับดูแล บมจ. การบินไทย กองทุนรวมวายุภักษ์ สำนักงานประกันสังคม ถือหุ้น 30% ถือหุ้น 17% คณะกรรมการ ถือหุ้น 0.50% ถือหุ้น 54%
ความท้าทายในการกำกับดูแล (2) การปั่นหุ้นและใช้ข้อมูลภายในยังมีการปรับและกล่าวโทษน้อย บทลงโทษของไทยต่ำกว่าและยังขาดประสิทธิผลในการลงโทษ สิทธิของนักลงทุนรายย่อยไทยยังไม่เพียงพอ หุ้นเก็งกำไรส่วนใหญ่ไม่เคยถูก H/SP และนักลงทุนไม่สนใจ
การปรับและกล่าวโทษ การเปรียบเทียบปรับ การกล่าวโทษ รวม การเปรียบเทียบปรับ การกล่าวโทษ รวม กรณีความผิด 1 ม.ค. 2542 - 30 รายการ ร้อยละ สร้างราคาหุ้น (ปั่นหุ้น) 22 2.7% 3 1.8% 25 2.5% ใช้ข้อมูลภายใน 10 1.2% 1 0.6% 11 1.1% ไม่ส่งรายงานการถือ/ได้มาและจำหน่ายหลักทรัพย์ตามกฎ 77 9.5% 6 3.6% 83 8.5% ไม่ทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ตามมาตรา 247 (ข้ามเส้นทุก 25%) 8 1.0% - 0.8% ฉ้อโกงบริษัท/ตกแต่งบัญชีเพื่ออำพราง 5 55 32.7% 60 6.1% ส่งงบการเงินล่าช้า/ไม่ตรงตามมาตรฐานบัญชี 212 26.1% 3.0% 217 22.1% ส่งรายงานประจำปีหรือเอกสารอื่นล่าช้า 90 11.1% 9.2% เปิดเผยสารสนเทศไม่ครบถ้วนหรือเป็นเท็จ 18 2.2% 21 2.1% ให้บริการซื้อขายหลักทรัพย์โดยไม่มีใบอนุญาต 80 47.6% 8.2% บล. บันทึกเทปคำสั่งไม่ครบถ้วน/เจ้าหน้าที่การตลาดไม่ขึ้นทะเบียน 44 5.4% 4.5% บล. ขายโดยไม่มีหลักทรัพย์อยู่ในครอบครอง 66 8.1% 6.7% สถาบันการเงินบกพร่องหรือทุจริตในหน้าที่ 244 30.0% 245 25.0% สถาบันการเงินจัดทำรายงานไม่ครบถ้วน 16 2.0% 1.6% ความผิดอื่นๆ (เช่น ไม่มาให้การตามคำสั่ง) 0.1% 14 8.3% 15 1.5% 813 100.0% 168 981
การผูกขาดทางธุรกิจกับการเมือง ดร. เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ ทีดีอาร์ไอ
สามเหลี่ยมเหล็กแห่งการผูกขาด? ที่มา สุริยะใสและรจิตกนก, 2545
ทุนสัมปทานกับธรรมาภิบาล ทางเศรษฐกิจ ทุนสัมปทานกับธรรมาภิบาล ทางเศรษฐกิจ ดร. สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ ทีดีอาร์ไอ
เปรียบเทียบตระกูล “เจ้าสัว” ที่ลง-ไม่ลงเลือกตั้ง ลงเลือกตั้ง (13 ตระกูล) ไม่ลงเลือกตั้ง (87 ตระกูล) สินทรัพย์เฉลี่ย (ล้านเหรียญ) 4,418.46 486.46 % รายได้จากธุรกิจสัมปทาน 22.9 2.5 % กำไรต่อทรัพย์สิน 2.4 2.8 % หนี้สินต่อทรัพย์สิน 39.5 49.6 ที่มา: Bunkanwanicha and Wiwattanakantang (2006)
นโยบายรัฐเอื้อประโยชน์ธุรกิจสัมปทานอย่างไร? ผู้บริโภค ผู้เสียภาษี คู่แข่ง หน่วยงานรัฐ
ความเสียหาย (ล้านบาท) ความเสียหายที่เกิดในรัฐบาลทักษิณ (1) มาตรการ/นโยบาย ความเสียหาย (ล้านบาท) ผลกระทบอื่นๆ การจัดเก็บภาษีสรรพสามิตกิจการโทรคมนาคม โดยยกเว้นให้แก่ผู้รับสัมปทาน 39,000 - กีดกันการเข้าสู่ตลาดของรายใหม่ - บั่นทอนฐานะทางการเงินของ ทศท. - กสท. การยกเว้นภาษีเพื่อส่งเสริมการลงทุนแก่ ชิน แซทเทลไลท์ 16,459 - สร้างการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรมในตลาดโทรคมนาคมในประเทศ การปรับลดค่าสัมปทานของบริการโทรศัพท์พรีเพด 13,420
ความเสียหายที่เกิดในรัฐบาลทักษิณ (2) มาตรการ/นโยบาย ความเสียหาย (ล้านบาท) ผลกระทบอื่นๆ การให้เงินกู้ EXIM Bank แก่พม่า 950 - สร้างภาระต่อผู้เสียภาษีไทยและพม่า อาจสร้างปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การแก้สัญญาของเทเลอินโฟมีเดีย 713 - สร้างภาระต่อผู้ใช้โทรศัพท์ สร้างภาระต่อรัฐวิสาหกิจและผู้เสียภาษี การยกเลิกสัญญาให้บริการวิทยุติดตามตัวของ แอดวานซ์ เพจจิ้ง 500 - สร้างภาระต่อรัฐวิสาหกิจที่ต้องให้บริการแทน และขาดรายได้จากค่าสัมปทาน รวม 71,042