กรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประชุมผู้ปกครองเครือข่าย
Advertisements

การประสานงาน.
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
การปฏิบัติหน้าที่ของครูที่ปรึกษา
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
บทบาทหน้าที่ของ HR ยุคใหม่
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
กฎหมายแรงงานสัมพันธ์
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
การจ้างลูกจ้างชั่วคราว
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
การตรวจการสหกรณ์ ไพฑูรย์ ชนะชู นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ
หน้าที่ของสมาชิกสหกรณ์
บทบาทของประธานกลุ่ม ประธานกลุ่มของสหกรณ์ นับเป็นผู้ที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสหกรณ์ เพราะเป็นผู้อยู่ใกล้ชิดกับสมาชิกในกลุ่ม เป็นผู้รู้ปัญหาและความต้องการของสมาชิกได้เป็นอย่างดี
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
หลักการและเหตุผล แผนกลยุทธ์และแผนงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธ์ศาสตร์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ปี เป็นแผนที่จัดทำขึ้นจากการมีส่วนร่วมของคณะทำงานซึ่งเป็นผู้แทนของหน่วยงานในสังกัดกรมฯทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค.
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
พระราชบัญญัติการโฆษณา
Good Corporate Governance
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (ธอท.)
ภาพแสดงกรอบการปฏิบัติงานการตรวจสอบภายใน
โครงการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (นักพัฒนามาตรฐาน)
การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการบริหารราชการ
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง สัญลักษณ์เตือนอันตราย เครื่องหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน และข้อความแสดงสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง.
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
นายอาทิตย์ อิสโม รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
โครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านแสงอรุณ จำกัด
มาตรฐานการควบคุมภายใน
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การวางแผนและควบคุมกำไรโดยงบประมาณ
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
พ.ร.บ.สภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. 2553
การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
กลุ่มที่ 4.
ขั้นตอนการใช้พระราชบัญญัติ การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การจัดการงานบุคคลของสหกรณ์ออมทรัพย์
บทที่ 2 การจัดองค์กรขาย
 หมวด 1 การสรรหา การบรรจุ และ การแต่งตั้ง  หมวด 2 การเรียกประกัน  หมวด 3 การเลื่อนขั้นเงินเดือนหรือ ค่าจ้างของผู้ปฏิบัติงาน  หมวด 4 การพ้นจากตำแหน่งและ.
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
ระเบียบวาระการประชุม ศปส.ทร. ณ ห้องประชุม สก.ทร. (ชั้น ๓)
“การจัดการประชุม” เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้นำนิสิต
ข้อที่ 7 ผลการดำเนินงานในรอบปีบัญชี สุดท้ายสหกรณ์ ต้องไม่กระทำการอัน เป็นการฝ่าฝืนกฏหมาย ระเบียบ คำสั่ง ปัญหา / สาเหตุ การ ป้องกั น แนว ทางแก้ ไข มาตรฐาน.
กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51. แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ.
พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่องกำหนดคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้งเป็นผู้แทนฝ่ายนายจ้างและผู้แทนฝ่ายลูกจ้างในคณะกรรมการไตรภาคี
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ หน้าที่ และ บทบาททั่วไป ของกรรมการสวัสดิการ By: Yosita copy right TSK

ความหมาย และ เจตนารมณ์ คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการตามมาตรา 96 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ลูกจ้างได้รับเลือกตั้งในสถานประกอบกิจการเพื่อเป็นตัวแทนของลูกจ้างร่วมปรึกษากับนายจ้างในการสวัสดิการให้แก่ลูกจ้าง เสมือนเป็นสื่อกลางความต้องการของลูกจ้างให้นายจ้างทราบ เจตนารมณ์ในการจัดตั้งกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการนั้นเพื่อลดข้อขัดแย้งอันนำไปสู่ข้อพิพาทแรงงาน โดยใช้หลักของแรงงานสัมพันธ์เข้ามาดำเนินกิจกรรมแบบทวิภาคี เพื่อเปิดโอกาสให้ลูกจ้างได้เสนอข้อคิดเห็นแก่นายจ้าง คณะกรรมการสวัสดิการฯ ครบวาระ พ้นจากตำแหน่งเมื่อ ตาย ลาออก เป็นคนไร้ความสามารถหรือเป็นเสมือนคนไร้ความสามารถ ได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดยกเว้นความผิดโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ copy right TSK

ประโยชน์ของคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ เป็นการส่งเสริมความสัมพันธ์ และความเข้าใจอันดีระหว่างนายจ้างกับฝ่ายลูกจ้าง เกิดการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมและตรงความต้องการของลูกจ้างลดปัญหาข้อขัดแย้งและเกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง เป็นการสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงานของลูกจ้าง นายจ้างยอมรับการเข้าไปมีส่วนร่วม มีการนำไปปฏิบัติร่วมกันในการแก้ไขปัญหา เป็นแนวทางในการปรับปรุงสวัสดิการและสภาพแวดล้อมในการทำงาน ส่งเสริมและพัฒนาแนวคิดระบอบประชาธิปไตย และการมีส่วนร่วม สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง เพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพในการทำงาน ผ่อนคลายความเครียด ลดข้อขัดแย้ง สร้างความเข้าใจอันดีต่อกัน copy right TSK

พ.ร.บ พ.ศ. 2541 หมวด 7 สวัสดิการ มาตราที่เกี่ยวข้อง ม.96 ในสถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 50 คนขึ้นไปให้นายจ้างจัดให้มีคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการประกอบด้วยผู้แทนฝ่ายลูกจ้างอย่างน้อย 5 คน ม. 97 คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ 1. ร่วมหารือกับนายจ้างเพื่อจัดสวัสดิการแก่ลูกจ้าง 2. ให้คำปรึกษาหารือและเสนอแนะความเห็นแก่นายจ้างในการจัดสวัสดิการสำหรับลูกจ้าง 3.ตรวจตราควบคุม ดูแล การจัดสวัสดิการที่นายจ้างจัดให้แก่ลูกจ้าง 4. เสนอข้อคิดเห็นและแนวทางในการจัดสวัสดิการที่เป็นประโยชน์สำหรับลูกจ้างต่อคณะกรรมการสวัสดิการแรงงาน copy right TSK

ม. 99 นายจ้างปิดประกาศจัดสวัสดิการตามกฏกระทรวงให้ลูกจ้างทราบ ม. 98 นายจ้างจัดให้มีการประชุมหารือ กับ คุณกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการอย่างน้อย 3 เดือนครั้ง ม. 99 นายจ้างปิดประกาศจัดสวัสดิการตามกฏกระทรวงให้ลูกจ้างทราบ copy right TSK

แนวทางในการดำเนินงานของคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ตั้งประธานกรรมการสวัสดิการ เป็นหลักในการประสานงานกับฝ่ายต่างๆ ตั้งเลขานุการ เพื่อบันทึกการประชุม รวบรวมเอกสาร ตั้งกรรมการ พบปะกันเป็นครั้งคราว เพื่อหารือ ศึกษาอำนาจหน้าที่ให้ชัดเจน เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฏหมายและนายจ้าง ให้เป็นที่ยอมรับทั้งลูกจ้างและนายจ้าง ขอเปิดประชุมเมื่อนายจ้างเพิกเฉย กำหนดแผนการประชุม ในรายละเอียดให้ชัดเจน ปฏิบัติตามผลการประชุมอย่างชัดเจน ติดตามผลการปฏิบัติงาน ประชาสัมพันธ์ให้ทราบทั่วกัน ทบทวนสวัสดิการที่จะเสนอต่อนายจ้าง มีความเป็นไปได้ กำลังทรัพย์นายจ้าง และภาวะเศรษฐกิจ นำเสนอแนวคิดที่เป็นประโยชน์ต่อกรรมการสวัสดิการแรงงานเพื่อนำไปทบทวนในระดับชาติ copy right TSK

ข้อควรคำนึง ปฏิบัติตนเองตัวอย่างที่ดีแก่ลูกจ้างอื่น เมื่อต้องหารือไม่ควรใช้เวลาปฏิบัติงาน แต่หากจำเป็นให้ขออนุญาตจากหัวหน้า / นายจ้างก่อน ต้องมีความรับผิดชอบและพร้อมทำหน้าที่ตามคำสั่งของนายจ้าง มีความเสียสละและปฏิบัติให้เป็นประโยชน์ต่อลูกจ้าง และ นายจ้าง เชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างลูกจ้าง และนายจ้าง มีความจริงใจ ไม่ทำให้แบ่งแยก copy right TSK

บทบาท สร้างความเชื่อถือให้แก่นายจ้าง ให้ความร่วมมือในกิจกรรมอันเป็นประโยชน์แก่ทั้งสองฝ่าย ให้ข้อมูลที่ถูกต้องตามความเป็นจริง เสียสละเพื่องานของคณะกรรมการฯ เสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหา ต้องปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของนายจ้าง ติดตามเรื่องที่ได้มีการเสนอแนะตกลงกันได้ แจ้งผลการเจรจาการตกลงให้ลูกจ้างทราบอย่างถูกต้อง copy right TSK