อำนาจอธิปไตย อธิปไตยเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศประกอบด้วย อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ใช้ในการบริหารการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ 2 องค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญ
Advertisements

บทที่ 3 การจัดทำกฎหมาย.
(กำหนดขึ้นโดยสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน)
กลุ่มคนในสังคมสุโขทัย
4. สถาบันการเมืองการปกครอง
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
ข้อเสนอว่าด้วย ระบบเลือกตั้งและสถาบันการเมือง
ค่าเบี้ยประชุม สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ หมายความว่า
อำนาจหน้าที่ของสภามหาวิทยาลัย เป็นไปตาม ตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ. ศ
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย
4.1 การคัดเลือกผู้แทนสมาชิก
การปกครอง ระบอบประชาธิปไตย นางสาวโสภา กาฬภักดี.
สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
กฎหมายเบื้องต้น.
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
รูปแบบรัฐ ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
จริยธรรมข้าราชการพลเรือน
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
กฎหมายการเงิน การคลังทั่วไป
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
สัปดาห์ที่ 4.
ระบบรัฐสภา (Parliamentary System)
การเลือกตั้ง (Election)
นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
การบริหารจัดการท้องถิ่น
: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
YOUR SUBTITLE GOES HERE
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
การประชุมผู้บริหารกรมปศุสัตว์ ครั้งที่ 2/ สิงหาคม สิงหาคม 2556
ผู้อำนวยการส่วนพัฒนาและส่งเสริมการบริหารงานท้องที่
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)
การดำเนินการ ของ กระทรวงกลาโ หม การดำเนินการ ของ กระทรวงกลาโ หม.
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การปฏิบัติงานร่วมกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
โครงร่างของรัฐธรรมนูญ 2550(Social Contract)
การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
กลุ่มพัฒนา ระบบบริหาร กรมการข้าว. พระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ ประชาธิ ปไตย ปกปัก รักษา ประโยช น์ คุ้มครอ งสิทธิ ส่วน บุคคล.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย ???
บทบาทด้านนิติบัญญัติ
การอนุมัติงบประมาณ การอนุมัติงบประมาณ เป็นขั้นตอนที่จะทำให้งบประมาณรายจ่ายประจำปีมีผลบังคับใช้ได้ตามกฎหมาย โดยหลังจากขั้นตอนการจัดทำงบประมาณเสร็จสิ้นแล้ว.
การบริหารราชการแผ่นดิน
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
ขั้นตอนการใช้พระราชบัญญัติ การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
สถาบันการเมืองการปกครอง
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
หลักการแบ่งแยกอำนาจ และสถาบันทางการเมือง
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
กรอบแนวทางในการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
เรื่อง แนวคิดการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี
วัตถุประสงค์ในการตราพระราชกฤษฎีกานี้
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้ร่วมงาน ๑. นายชัยเดช แสงทองฟ้า. เลขที่ ๒ ๒. นายวสันต์ เสริฐศรี
1 เบี้ยประชุมกรรมการ. 2 ยกเ ลิก 1. พ. ร. ฎ. เบี้ยประชุมกรรมการ พ. ศ พ. ร. ฎ. เบี้ยประชุมและ ค่าตอบแทนที่ปรึกษา ซึ่ง นายกรัฐมนตรีแต่งตั้ง พ. ศ.
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่องกำหนดคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้งเป็นผู้แทนฝ่ายนายจ้างและผู้แทนฝ่ายลูกจ้างในคณะกรรมการไตรภาคี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อำนาจอธิปไตย อธิปไตยเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศประกอบด้วย อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ใช้ในการบริหารการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข

ตัวอย่างแผนภาพการใช้อำนาจอธิปไตย ประเทศไทย อำนาจอธิปไตย อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจตุลาการ อำนาจบริหาร ศาล สภาผู้แทนราษฎร(ส.ส.) คณะรัฐมนตรี รัฐสภา บริหารประเทศ ตัดสินคดีความ วุฒิสภา(ส.ว. ) ออกกฎหมาย การปกครอง ระบอบประชาธิปไตย

ศึกษาอำนาจนิติบัญญัติ อำนาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ ศึกษาอำนาจนิติบัญญัติ อำนาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ คำถาม -อำนาจนิติบัญญัติ ใครเป็นผู้มีอำนาจสูงสุด (ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้มีอำนาจสูงสุด และมีประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรัฐสภา) -อำนาจนิติบัญญัติมีอำนาจหน้าที่อย่างไร (ออกกฎหมายในการใช้บริหารปกครองประเทศ เช่น พระราชบัญญัติต่างๆ เป็นต้น) -ผู้ที่อยู่ในอำนาจนิติบัญญัติมีที่มาอย่างไร (มาจากการเลือกตั้งของประชาชนและประธานวุฒิสภาบางส่วนมาจากการสรรหาโดยได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งจากพระมหากษัตริย์)

ศึกษาอำนาจบริหาร อำนาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ ศึกษาอำนาจบริหาร อำนาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ คำถาม -อำนาจบริหาร ใครเป็นผู้มีอำนาจและบังคับบัญชาสูงสุด (มีนายกรัฐมนตรีเป็น หัวหน้าคณะรัฐมนตรี) -มีอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างไร (ทำหน้าที่บริหารพัฒนาประเทศตามที่ได้ แถลงนโยบายไว้ต่อรัฐสภา) -คณะรัฐมนตรีมีที่มาอย่างไร (มาจากการได้รับการเสนอชื่อ โดยพระมหากษัตริย์ ทรงลงพระปรมาภิไธย (ลงนาม) แต่งตั้ง โดยนายกรัฐมนตรีต้องมาจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร โดยความเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้เสนอชื่อ ส่วนคณะรัฐมนตรีเป็นอำนาจของ นายกรัฐมนตรีเป็นผู้นำเสนอรายชื่อทูลเกล้าฯให้พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย(ลงนาม) แต่งตั้ง)

ศึกษาอำนาจตุลาการ อำนาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ ศึกษาอำนาจตุลาการ อำนาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ คำถาม -อำนาจตุลาการใครเป็นผู้บังคับบัญ­ชาสูงสุด (ประธานศาลฎีกา) -มีอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างไร (พิจารณาตัดสินคดีความ ให้ความยุติธรรมเพื่อความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง) -คณะกรรมการตุลาการมีที่มาอย่างไร (มาจากข้าราชการตุลาการศาลที่พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย (ลงนาม)แต่งตั้ง) -อำนาจทั้งสามฝ่าย ใครเป็นผู้มีอำนาจสูงสุด (พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชอำนาจสูงสุด โดยใช้อำนาจผ่านรัฐสภา คณะรัฐมนตรีและตุลาการศาล โดยทรงเป็นผู้ลง พระปรมาภิไธย(ลงนาม) แต่งตั้งอำนาจทั้ง 3 ฝ่าย ให้เป็นผู้มีอำนาจรับผิดชอบแทนพระองค์ในการบริหารและรับผิดชอบตามที่ได้รับมอบหมายจากพระมหากษัตริย์)

สรุปความสำคัญของการแบ่งอำนาจอธิปไตย เพื่อบำบัดทุกข์บำรุงสุขให้แก่ประชาชนประชาชน เพื่อถ่วงดุลอำนาจกัน ป้องกันการรวมอำนาจ ความสำคัญ ของการแบ่งอำนาจ ออกเป็น 3 ฝ่าย ช่วยให้เกิดความยุติธรรม ในการปกครองประเทศ ทำให้ประเทศเกิดการพัฒนา เพื่อแบ่งเบาภาระของ พระมหากษัตริย์ มีอิสระในการบริหารและ หน้าที่แยกออกจากกัน

คืออำนาจสูงสุดที่ใช้ในการปกครองประเทศไทย อำนาจอธิปไตย คืออำนาจสูงสุดที่ใช้ในการปกครองประเทศไทย