พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
รายงาน ความหลากหลายของพืช.
อัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ
บทที่ 6 การใช้สีสำหรับเว็บไซต์
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
พฤติกรรมการถ่ายทอดลูกหลานของแมลง Brood Producing Behaviors in Insects
ความหลากหลายทางชีวภาพของพืช
โครโมโซม.
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
The Genetic Basis of Evolution
ดีเอ็นเอ และวิทยาศาสตร์พันธุกรรม
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
ความหลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบัน เชื้อชาติกับวัฒนธรรม
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
ดูวัวให้ดูที่หาง ดูนางให้ดูที่แม่ แต่ถ้าจะให้แน่ต้องดูที่ยาย
(quantitative genetics)
คุณภาพเมล็ดพันธุ์ 1. ความงอก (germination) หรือความมีชีวิต (viability)
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
พันธุกรรมและวิวัฒนาการ
7.Cellular Reproduction
ตอนที่ 2.
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
DNA สำคัญอย่างไร.
จัดทำโดย นางกุลธิดา จินดา โรงเรียนบ้านแต้ชะบา(อสพป.38)
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ทบทวน เมนเดล ยีนและโครโมโซม
ความหลากหลายทางพันธุกรรม คุณลักษณะ และ รูปแบบการถ่ายทอด
การสืบพันธุ์ของพืช.
การปลูกพืชผักสวนครัว
Next.
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
การเกิดมิวเทชัน (mutation).
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ลักษณะทางพันธุกรรม นอกเหนือจากกฎของเมนเดล
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
พันธุศาสตร์เบื้องต้น (Principle of genetics)
Chi-square Test for Mendelian Ratio
Genetic drift Before: 8 RR 0.50 R 8 rr 0.50 r After: 2 RR 0.25 R 6 rr
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การสืบพันธุ์และการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม. สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์  เพื่อ  1. ดำรงเผ่าพันธุ์  2. ถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด จากบรรพบุรุษไปสู่รุ่นต่อไป.
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
มัลติเพิลอัลลีล MULTIPLE ALLELES
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
พันธุศาสตร์โมเลกุล การปรับปรุงพันธุ์ ลักษณะตามต้องการ
อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร
ยีนและโครโมโซม ครูจุมพล คำรอต
Animal Breeding and Improvement การปรับปรุงพันธุ์สัตว์
Mating System Asst.Dr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science
กฎพันธุกรรมของ Mendel
ว33241 ชีววิทยา 4 บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
ต่าง รูปร่าง Allele = Allelomorph
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ นางสาวกุลธิดา แก่นแก้ว ตำแหน่ง ครู คศ. 1 โรงเรียนหนองหิ้งพิทยา

ลักษณะทางพันธุกรรม ลักษณะทางพันธุกรรม หมายถึง ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ถูกควบคุมโดยกรดนิวคลีอิกชนิด DNA หรือ RNA ที่สามารถถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปยังรุ่นต่อๆ ไป โดยอาศัยเซลล์สืบพันธุ์หรือเซลล์ชนิดอื่นๆ เป็นสื่อกลางในการถ่ายทอด

ประเภทของลักษณะทางพันธุกรรม 1. ลักษณะที่มีความแปรผันไม่ต่อเนื่อง (Discontinuous variation) เป็นลักษณะพันธุกรรมที่ 2. ลักษณะที่มีความแปรผันต่อเนื่อง (Continuous variation) เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่

1.ลักษณะที่มีความแปรผันไม่ต่อเนื่อง - แยกความแตกต่างกันได้อย่างเด่นชัด - มักถูกควบคุมด้วยยีนน้อยคู่ - มักเกี่ยวข้องกับทางด้านคุณภาพ (Qualitative trait)

2. ลักษณะที่มีความแปรผันต่อเนื่อง - ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างเด่นชัด - มักถูกควบคุมด้วยยีนหลายคู่ (Polygenes or Multiple genes) - มักเกี่ยวข้องกับทางด้านปริมาณ (Qrantitative trait)

เกรเกอร์ โจฮันน์ เมนเดล Gregor Mendel เกิดในปี ค.ศ.1822 เป็นบาทหลวง ชาวออสเตรีย และใน ขณะเดียวกันเขาก็เป็นอาจารย์ สอนหนังสือให้แก่นักเรียน เมน เดลมีความสนใจศึกษาด้าน วิทยาศาสตร์โดยเฉพาะ ด้าน พันธุศาสตร์ เขาได้ใช้สถานที่ ภายในบริเวณวัดเพื่อทำการ ทดลองการรวบรวมต้นถั่ว หลายๆพันธุ์นำมาผสมกัน หลายๆวิธี

การทดลองของเมนเดล 1. เมนเดล ผสมต้นถั่วลันเตาจนได้ พันธุ์บริสุทธิ์ทั้ง พ่อพันธุ์ แม่พันธุ์ 2. เมนเดล นำต้นถั่วพันธุ์สูงเป็นพ่อ พันธุ์ หรือแม่พันธุ์ มาผสมกับต้นถั่ว พันธุ์เตี้ยซึ่งเป็นแม่พันธุ์หรือพ่อพันธุ์ เป็นการผสมข้ามต้นต่างลักษณะ 3. เมนเดล นำต้นถั่วรุ่นที่สอง (F2) มา ผสมพันธุ์กันเอง

สรุปผลการทดลองของเมนเดล 1. ลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมความสูงของ ต้นถั่วมีลักษณะเด่น คือ ลักษณะลำต้นสูงกับ ลักษณะด้อย คือ ลักษณะลำต้นเตี้ย ลักษณะ ทางพันธุกรรมของพ่อจะอยู่ในละอองเกสรตัวผู้ ของแม่จะอยู่ในรังไข่ ลักษณะพันธุกรรมจึง ถ่ายทอดถึงลูกหลานได้ 2. ลักษณะเด่นจะข่มลักษณะด้อยในรุ่นลูก (F1) จึงพบรุ่นลูกมีลักษณะเด่นหมด ทั้งนี้ภายใน ข้อจำกัดพ่อและแม่ ต้องเป็นพันธุ์เด่นแท้และ ด้อยแท้ 3. ในชั่วรุ่นหลาน (F2) โดยปล่อยให้รุ่นลูก (F1) ผสมพันธุ์กันเองจะได้ลักษณะเด่นต่อลักษณะ ด้อยในอัตราส่วน 3 : 1

กฎแห่งการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของเมนเดล กฎข้อที่ 1 กฎแห่งการแยกตัว ( law of segregation) กล่าวว่า สิ่งที่ควบคุมลักษณะทาง พันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตที่สืบพันธุ์แบบ อาศัยเพศมี อยู่เป็นคู่ๆ แต่ละคู่แยกจาก กันในระหว่าง การสร้างเซลล์พืชสืบพันธุ์ กฎข้อที่ 2 กฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ กล่าวว่า ในเซลล์สืบพันธุ์จะมีการรวมกลุ่ม ของหน่วยพันธุกรรมของลักษณะต่าง ๆ การรวมกลุ่มเหล่านี้เป็นไปอย่างอิสระ จึง ทำให้เราสามารถทำนายผลที่เกิดขึ้นในรุ่น ลูก และรุ่นหลานได้

1. กฏการแยก (law of segregation) เมื่อพิจารณาการถ่ายทอดลักษณะของถั่ว ลันเตาทีละลักษณะ เช่น ลักษณะสีของ เมล็ด เมนเดลให้สัญลักษณ์ Y แทน ลักษณะเมล็ดสีเหลือง และ y แทนลักษณะ เมล็ดสีเขียว

2. กฏการรวมกลุ่มกันอย่างอิสระ (law of independent assortment) เมื่อพิจารณาการ ถ่ายทอดลักษณะ ของถั่วลันเตาทีละ ลักษณะ 2 ลักษณะ ขึ้นไป เช่น ลักษณะ สีของเมล็ด และ ลักษณะรูปร่างของ เมล็ด เมนเดลให้ สัญลักษณ์ของ ลักษณะรูปร่าง เมล็ดกลม R และ ลักษณะรูปร่าง เมล็ดขรุขระ r

คำศัพท์ที่ควรทราบในการศึกษาพันธุศาสตร์ 1. เซลล์สืบพันธุ์ (Gamete or Sex cell)หมายถึง ไข่ (Egg) หรือ สเปิร์ม ( Sperm) 2. ลักษณะเด่น (Dominance) หมายถึง ลักษณะที่ปรากฏออกมาในรุ่นลูกหรือรุ่นต่อ ๆ ไปเสมอ 3. ลักษณะด้อย (Recessive) หมายถึง ลักษณะที่ไม่มีโอกาสปรากฏในรุ่นต่อไป

คำศัพท์ที่ควรทราบในการศึกษาพันธุศาสตร์ 4. ยีน (Gene) หมายถึง หน่วยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตเป็นสารเคมีจำพวก กรดนิวคลีอิก โดยเฉพาะ ชนิด DNA จะพบมากที่สุด ชนิด RNA 5. โฮโมโลกัสยีน (Homologous gene) หมายถึง ยีนที่เหมือนกันอยู่ด้วยกัน เช่น TT , tt , AA , bb 6. เฮเทอโรไซกัสยีน (Heterozygous gene) หมายถึง ยีนที่ต่างกันอยู่ด้วยกัน เช่น Tt , Aa , Bb

คำศัพท์ที่ควรทราบในการศึกษาพันธุศาสตร์ 7. จีโนไทป์ (Genotype) หมายถึง ลักษณะหรือแบบของยีนที่ควบคุมลักษณะ 8. ฟีโนไทป์ (Phenotype) หมายถึง ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ปรากฏออกมาเนื่องจากการ แสดงออกของยีนและอิทธิพลของ สิ่งแวดล้อม

คำศัพท์ที่ควรทราบในการศึกษาพันธุศาสตร์ 9. โฮโมโลกัสโครโมโซม (Homologous chromosome) หมายถึง โครโมโซมที่เป็นคู่กัน มีขนาดและรูปร่างภายนอกเหมือนกัน 10. โฮโมไซกัสโครโมโซม (Homozygous chromosome) หมายถึง โครโมโซมที่เป็นโฮโมโลกัสกัน และมียีนที่เป็นโฮโมไซกัสกัน อย่างน้อย 1 คู่