ตัวอย่างกิจกรรมการทดลอง โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิธีสารแยกสารเนื้อผสม การใช้มือหยิบออก,เขี่ยออก
Advertisements

โครงงานคอมพิวเตอร์.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
ขนมเทียน โดย นางเทวี โพธิ์ไพจิตร ครูชำนาญการพิเศษ.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
เมฆ(Clouds)และฝน           “เมฆ” อากาศเคลื่อนตัวสูงขึ้นถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิ ต่ำ จนอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะเกิดการควบแน่นเป็น ละอองน้ำหรือระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก.
น้ำหนักแสงเงาหุ่นนิ่ง
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนวัตกรรมการศึกษา
การทำขนมโค สมาชิกในกลุ่ม นายอุดมศักดิ์ โยมา นายราเมศ บุษบา
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
Conceptual change model (CCM Model)
ความฝันของคุณพ่อบอสโก
ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายได้ดีในน้ำ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
วงจรสี.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ชื่อโครงงานการทำขนมไหว้พระจันทร์
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ครูบุญชัย กัณตวิสิฐ โรงเรียนกำแพงเพชรพิทยาคม จังหวัดกำแพงเพชร
สรุปเนื้อหาหน่วยการเรียนรู้
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
การเพ้นท์ผ้าบาติก น.ส.สุภาพ ชื้อผาสุข.
ผงชูรสแท้หรือปลอม.
เทคนิคการสอนวิทยาศาสตร์
โครมาโตกราฟี โครมาโตกราฟี คือ การแยกสารโดย
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
ชุดทดสอบไฮโดรควิโนนในเครื่องสำอาง
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิชาวิทยาศาสตร์ (ว31101 )ชั้น ม. 1
และความเป็นกรด-ด่างของดิน
สารเคมีในบ้านเป็นกรดหรือเบส
กิจกรรมเก็บตัวอย่าง และการวิเคราะห์คุณภาพดิน
ความหมายของวิทยาศาสตร์
บทที่ 11.
ผลการดำเนินงาน โครงการ หนึ่งหลักสูตรหนึ่งชุมชน ปี 2557
การจำแนกประเภทของสาร
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
โดย ครูธันว์ชนก บัวคงดี
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
โดย นางปิยพร ยศมา ตำแหน่ง ครูชำนาญการ กลุ่มสาระภาษาไทย
การหักเหของแสงในตัวกลางต่างชนิดกัน
“เอ็น (N) พี (P) และ เค (K)”
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย
กิจกรรมพื้นฐานทางเคมี
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
เทคนิคการสื่อสารกับผู้ปกครอง (Communication Skill)
องค์ความรู้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์การทอเสื่อกก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มทอเสื่อกกบ้านนาหมอม้า ผู้ให้องค์ความรู้ นางนิ่ม นวลขาว ที่อยู่ 961 หมู่ 7.
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
ปฏิบัติการที่ 2 แร่ประกอบหินอัคนี.
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวอย่างกิจกรรมการทดลอง โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย

การทดลอง: การละลายของน้ำตาล การทดลองนี้เด็กๆ จะได้เห็น การละลายของน้ำตาล อย่างชัดเจน โดยเริ่มจากการย้อมน้ำตาล ด้วยสีผสมอาหาร หลังจากนั้นนำไปวาง บนจานที่มีน้ำ การนำน้ำตาลมา ย้อมสีต่างๆ ทำให้มีโอกาสได้สังเกตการผสมสีด้วย

1. เด็กๆ ใส่น้ำตาลก้อนลงในแก้วที่มีน้ำเปล่าอยู่ แล้วสังเกตการละลายของน้ำตาลในน้ำ 2. วางก้อนน้ำตาลบนผ้าหรือกระดาษ แล้ว หยดสีลงไป จากนั้นวางก้อนน้ำตาลไว้ในจานที่ ใส่น้ำ 3. จากนั้นทำการทดลองเพิ่มเติม โดยเปลี่ยนจาก น้ำตาลก้อนเป็นลูกกวาด แล้วสังเกต ความเปลี่ยนแปลง

4. เด็กๆ ใช้แว่นขยายส่องสังเกตดูการละลาย ของผลึกน้ำตาลก้อน และสีที่ปรากฏ 5. เด็กๆ วาดรูปสิ่งที่เกิดขึ้นจากการทดลอง

สิ่งที่เด็กได้จากการทดลอง ในน้ำตาลก้อนมีฟองอากาศ จึงเกิดการละลายได้เร็วกว่าลูกกวาด น้ำตาลเป็นสารละลายเหมือนเกลือ น้ำตาลมีความหนืดทำให้เกิดการแยกสีชัดเจน การผสมสีจากแม่สี ทำให้เกิดสีใหม่ได้ น้ำทำให้วัตถุเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นของเหลวได้

การทดลอง: ความลับของสีดำ สีดำของเมจิกเกิดจากการผสมของสีหลายสี ในการทดลองนี้เด็กๆ สวมบทบาทเป็นนักสืบที่ค้นหาว่า ปากกาเมจิกสีดำยี่ห้อต่างๆ เกิดจากการผสมของสีใดบ้าง จะพบว่ามีสีชมพู สีฟ้า สีเหลือง และสีเขียวซ่อนอยู่ในสีดำ การทดลองนี้จะใช้วิธีการทางเคมีในการค้นหาสีที่ซ่อนอยู่ เรียกว่า “โครมาโทกราฟี”

1. เด็กๆ เตรียมกระดาษกรองคนละ 1 แผ่น พับเป็นรูปกรวยแบนๆ แล้วตัดตามมุมแหลมของ กรวยเล็กน้อยให้เป็นรูเล็กๆ ตรงกลาง 2. ใช้ปากกาสีเมจิกสีดำวาดลวดลายรอบๆ รู ตรงกลาง 3. ม้วนกระดาษกรองแผ่นที่ 2 เป็นแท่งคล้ายเทียน แล้วสอดเข้าไปในรูตรงกลางของกระดาษกรอง แผ่นที่ 1

4. เด็กๆ สังเกตการเปลี่ยนแปลงของกระดาษ กรอง เมื่อนำแผ่นที่วาดลวดลายวางไว้ด้านบน ส่วนแผ่นที่ม้วนเป็นแท่งจุ่มลงในน้ำ 5. ทิ้งไว้สักครู ให้เด็กๆ สังเกตว่าเกิด การเปลี่ยนแปลงอะไรขึ้น

สิ่งที่เด็กได้จากการทดลอง เด็กรู้จักสังเกต (เกิดสีต่างๆ แยกออกมาจากสีดำ) เด็กได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง เด็กได้รู้จักการตั้งสมมุติฐาน คาดเดาเหตุการณ์ในลำดับต่อไป เด็กได้พัฒนาการใช้ภาษาจากการใช้คำถามและตอบคำถาม อธิบายถึงสิ่งที่พบเห็นจากการทดลอง เด็กได้พูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน ซึ่งเป็น พัฒนาการทางสังคม