การวิเคราะห์ความเร็ว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเคลื่อนที่.
Advertisements

ENGINEERING MATHAMETICS 1
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
Conductors, dielectrics and capacitance
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
Energy and Potential วัตถุประสงค์ ทราบค่าคำจำกัดความ “งาน” ในระบบประจุ
Vector Analysis ระบบ Coordinate วัตถุประสงค์
8.2 Ampere’s Law “อินทริกรัลเชิงเส้นของสนามแม่เหล็กรอบเส้นทางปิดใดๆมีค่าเท่ากับกระแสที่ผ่านเส้นทางปิดนั้น” สำหรับสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสเส้นตรงยาวอนันต์
4.5 The Potential Field of A System of Charges : Conservative Property
การวิเคราะห์ความเร่ง
MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
TWO-DIMENSIONAL GEOMETRIC
ความเท่ากันทุกประการ
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
ผลคูณเชิงสเกลาร์และผลคูณเชิงเวกเตอร์
บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
ค่าสุดขีดและจุดอานม้า Extreme Values and Saddle Points
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
บทที่ 1เวกเตอร์สำหรับฟิสิกส์ จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 3 ชั่วโมง
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
เวกเตอร์ (Vectors) 1.1 สเกลาร์และเวกเตอร์
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องงาน
ระบบอนุภาค.
Quadratic Functions and Models
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
Force Vectors (3) WUTTIKRAI CHAIPANHA
Equilibrium of a Particle
Structural Analysis (2)
Force Vectors (2) WUTTIKRAI CHAIPANHA
Systems of Forces and Moments
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่เป็นวงกลม
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
ความชันและสมการเส้นตรง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ความเร็ว MTE 426 การวิเคราะห์ความเร็ว พิเชษฐ์ พินิจ 1

เนื้อหาการเรียนการสอน กฎพื้นฐานทางตรีโกณมิติ ความเร็วเชิงเส้นและเชิงมุม ความเร็วสัมพัทธ์ การวิเคราะห์หาความเร็ว เวกเตอร์ (Vector) ความเร็วสัมพัทธ์หรือรูปหลายเหลี่ยมความเร็ว (Relative velocity or velocity polygon) จุดหมุนเฉพาะกาลหรือจุดหมุนชั่วขณะ (Instantaneous centers of velocity) จุดเสริม (Auxiliary points)

กฎพื้นฐานทางตรีโกณมิติ 1 กฎของไซน์และกฎของโคไซน์ 2

กฎพื้นฐานทางตรีโกณมิติ 2 กฎของไซน์และกฎของโคไซน์ จากรูปจงคำนวณหาแรงลัพธ์ พร้อมทั้งหามุมของแรงลัพธ์นี้เทียบกับแกนในแนวนอน ด้วยวิธีต่อไปนี้ 1. กราฟิก 2. เวกเตอร์ 3. กฎพื้นฐานทางตรีโกณมิติ

ความเร็ว: เชิงเส้น 1 ความเร็วเชิงเส้น คืออัตราการเปลี่ยนแปลงของการกระจัดเชิงเส้นต่อหนึ่งหน่วยเวลา จากรูปได้ความสัมพันธ์ดังนี้ เส้นทางการเคลื่อนที่ของอนุภาค P

ความเร็ว: เชิงมุม 2 ความเร็วเชิงมุม คืออัตราการเปลี่ยนแปลงของการกระจัดเชิงมุมต่อหนึ่งหน่วยเวลา จากรูปได้ความสัมพันธ์ดังนี้ ความเร็วเชิงมุมของวัตถุที่หมุนรอบจุดๆ หนึ่งจะมีค่าเท่ากันทั่วทั้งวัตถุนั้น ความเร็วเชิงเส้นของจุดใดๆ บนวัตถุหนึ่งๆ ที่หมุนรอบจุดๆ หนึ่ง จะมีค่าขึ้นอยู่กับรัศมีของจุดๆ นั้นเทียบกับจุดหมุนดังกล่าว

ความเร็วสัมพัทธ์ 1 ความเร็วสัมพัทธ์ระหว่างจุดสองจุดที่อยู่บนชิ้นต่อโยงเดียวกันจะมีทิศทางตั้งฉากกับเส้นตรงที่ลากเชื่อมต่อระหว่างจุดสองจุดนั้น แนวทางของความเร็ว จะตั้งฉากกับระยะ AB เวกเตอร์ตำแหน่งและเวกเตอร์ความเร็วคือ เนื่องจาก ดังนั้น สำหรับการเคลื่อนที่ของชิ้นต่อโยงแบบหมุนรอบจุดคงที่จุดหนึ่ง ความเร็วสัมพัทธ์ของจุดใดๆ ที่อยู่บนชิ้นต่อโยงนั้นเทียบกับจุดคงที่ดังกล่าวก็คือความเร็วสัมบูรณ์นั่นเอง

ความเร็วสัมพัทธ์ ในกรณีที่ 2 ในกรณีที่ สำหรับการเคลื่อนที่ของชิ้นต่อโยงที่อยู่บนชิ้นต่อโยงอีกอันหนึ่งที่เคลื่อนที่ ความเร็วสัมบูรณ์ของจุดใดๆ ที่อยู่บนชิ้นต่อโยงอันแรกเทียบกับจุดคงที่หนึ่งๆ จะเป็นผลรวมระหว่างความเร็วสัมบูรณ์ของชิ้นต่อโยงอันที่สองกับความเร็วสัมพัทธ์ของจุดใดๆ นั้นเทียบกับชิ้นต่อโยงอันที่สองนั่นเอง

การวิเคราะห์ความเร็ว: เวกเตอร์ 1 จากระบบดังรูปได้ความสัมพันธ์ของเวกเตอร์ตำแหน่ง ความสัมพันธ์ของเวกเตอร์ความเร็ว

การวิเคราะห์ความเร็ว: ความเร็วสัมพัทธ์ 2 การวิเคราะห์ความเร็วของกลไกโดยวิธีความเร็วสัมพัทธ์จะอาศัยหลักการของความเร็วสัมพัทธ์ดังที่ได้กล่าวแล้ว ความเร็วสัมพัทธ์ระหว่างจุดสองจุดที่อยู่บนชิ้นต่อโยงเดียวกันจะมีทิศทางตั้งฉากกับเส้นตรงที่ลากเชื่อมต่อระหว่างจุดสองจุดนั้น หลักในการวาดแผนภาพความเร็ว กำหนดจุดคงที่ ในตำแหน่งที่เหมาะสม เวกเตอร์ความเร็วสัมบูรณ์ต้องวาดหรือเริ่มต้นจากจุดคงที่ เท่านั้น เวกเตอร์ความเร็วสัมพัทธ์ต้องวาดเชื่อมต่อระหว่างปลายของเวกเตอร์ความเร็วสัมบูรณ์เท่านั้น